คำสรรพนาม ในชีวิตประจำวันเราพูดคุยกันเป็นเรื่องธรรมดาแต่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่าคำที่ใช้แทนตัวผู้พูดและตัวคู่สนทนานั้นเรียกว่าอะไรด้วยซ้ำ เอ.. หรือนั่นคือคำสรรพนาม วันนี้เราจะมาพูดถึงคำเหล่านี้นั้นก็คือ คำสรรพนาม
คําพังเพย หมายถึง? คําพังเพย หมายถึง ถ้อยคำที่เป็นสำนวนที่พูดไว้กลาง ๆ เพื่อชวนให้คิด ถ้านำมาใช้ให้เหมาะกับเรื่องที่กำลังพูดกัน จะทำให้เข้าใจเรื่องที่พูดนั้นชัดเจนขึ้น
ความหมายของคำว่า "ออเจ้า" มองไปทางไหนก็เห็นแต่คนพูดถึงกระแสความดังของละครบุพเพสันนิวาส นาทีนี้คงต้องยกให้ละครเรื่องนี้จริงๆที่ทำให้สถานที่ท่องเที่ยวและคำเก่าในสมัยโบราณโดยเฉพาะคำเรียกคนอื่นอย่างคำว่า’’ออเจ้า’’เป็นกระแสขึ้นมาอย่างน่าประหลาดใจ ถ้าจะไม่พูดถึงความหมายของคำนี้ก็เห็นจะไม่ได้แล้ววันนี้เราจึงจะมาอธิบายถึงคำว่าออเจ้าว่ามีความหมายว่าอย่างไร
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึงอะไร พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึง พูดไปก็ไม่มีประโยชน์ สู้นิ่งไว้ดีกว่า
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
ลักษณะนาม หลายคนอาจจะเคยเข้าใจผิดและงงกับลักษณะนามของการเรียกสิ่งต่างๆ เรียกว่าอย่างไรกันแน่ วันนี้มาดูกันว่าคำนามเหล่านี้จะมีลักษณะนามเรียกว่าอย่างไร
ความหมายคำว่า "เวจ" จากละครบุพเพสันนิวาส วินาทีนี้คงไม่มีใครไม่รู้จักละครเรื่องบุพเพสันนิวาสที่เป็นกระแสอย่างมากทั่วทั้งโซเชียล จะเห็นว่าคนแทบทุกวัยต่างพากันพูดถึงละครเรื่องบุพเพสันนิวาส แถมนำคำบางคำในละครที่ไม่ค่อยได้ยินแล้วในปัจจุบันมาพูดกันทั่วบ้านทั่วเมือง มีคำศัพท์คำหนึ่งที่หลายคนพูดติดปากกันมากนั่นคือคำว่า "เวจ" วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงคำนี้กันว่ามีความหมายว่าอย่างไรกันแน่
ภาษาทางการ หรือ ภาษาราชการ ในการสื่อสารของมนุษย์ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด สิ่งหนึ่งที่ต้องคำนึงถึงในการสื่อสารนั้นก็คือมารยาทและความเหมาะสมที่ใช้ ไม่ว่าจะเป็นการพูดหรือการเขียนก็ต้องดูความเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาไทย วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงดับภาษาที่เป็นทางการว่าควรพูดอย่างไร ควรใช้คำในรูปแบบไหน สถานการณ์ใดจึงจะเหมาะสม แล้ววันนี้เราจะได้รู้กัน
คำไวพจน์ที่พบบ่อย หลายคนคงเคยประสบพบเจอปัญหาสับสนกับคำในภาษาไทยที่มีมากมายเหลือเกิน ทั้งที่บางคำก็เป็นคำที่มีความหมายถึงสิ่งเดียวกันแท้ ๆ เมื่อพูดถึงคำที่มีความหมายเหมือนกันแต่วิธีการเขียนและอ่านต่างกัน ในภาษาไทยเราจะเรียกว่า “คำไวพจน์”
คำซ้ำ (Reduplication) พูดถึงเรื่องของคำซ้ำ หรือ reduplication ในภาษาต่าง ๆ ก็มีอยู่มากมาย รวมถึงในภาษาไทยเราด้วย ภาษาไทยเราเรียกได้ว่าเป็นหนึ่งในภาษาที่มีความหลากหลายมากที่สุดภาษาหนึ่ง การสร้างคำต่าง ๆ ขึ้นมาจึงมีหลายวิธีในการสรรสร้างเพื่อให้ได้คำหรือความหมายใหม่ขึ้นมารวมถึงวิธีการซ้ำคำด้วย วันนี้เราจึงหยิบเรื่องคำซ้ำมาให้เรียนรู้กัน มาดูกันเลย
สำนวนจากละครบุพเพสันนิวาส วันนี้มาต่อกันอีกหนึ่งบทความกับละครดังแห่งปีเรื่องบุพเพสันนิวาส ละครเรื่องนี้ทำให้คนไทยหลายคนสนใจกับประโยคแปลก ๆ ที่ตัวละครกล่าวออกมาจนเกิดการค้นหาและนำไปพูดในชีวิตประจำวัน วันนี้เราจึงขอมาพูดถึงเกี่ยวกับคำและสำนวนวาจาที่ได้ยินมาจากในละครว่ามีความหมายว่าอย่างไร มาดูกันว่ามีอะไรบ้าง