มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาเรื่องมูลเหตุของการเกิดคำราชาศัพท์ ว่าทำไมถึงมี และมีได้อย่างไร เรามาขยายความกันในวันนี้เลยดีกว่า มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์นั้น คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติ พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ และบุคคลชั้นสูง
ปวช. ย่อมาจากอะไร มีสาขาอะไร และเรียนต่ออะไรบ้าง ปวช. ย่อมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยเป็นวุฒิการศึกษาที่เทียบเท่ากับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.3-ม.6 นั่นเอง สามารถทำการเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้เหมือนม.6
Comparison - การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การใช้ Adjective และ Adverb มาเป็นตัวบ่งบอกถึงความแตกต่างของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ โดยจะแบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเท่ากัน ขั้นกว่า ขั้นสูงสุด
ความหมายและรายละเอียดคำว่า แม่พิมพ์ เราทุกคนเกิดมาล้วนมีแบบอย่างในการใช้ชีวิตและคนที่ชี้แนะ อบรม สั่งสอนให้เติบโตขึ้นมา คนที่ทำให้เราเติบโตขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพเหล่านี้จึงสมควรได้รับการยกย่องและเคารพนับถือ หลายคนอาจจะเคยได้ยินคำว่า”แม่พิมพ์” “พ่อพิมพ์”ของชาติและทราบความหมายของคำนี้ดี แต่วันนี้เราจะพามาดูความหมายอย่างระเอียดของคำนี้
คำสนธิ คำสนธิในภาษาไทย หมายถึง คำที่มาจากภาษาบาลี – สันสกฤตมาเชื่อมต่อกัน ทำให้เสียงพยางค์หลังของคำแรกกลมกลืนกันกับเสียงพยางค์แรกของคำหลัง
คําพังเพย หมายถึง? คําพังเพย หมายถึง ถ้อยคำที่เป็นสำนวนที่พูดไว้กลาง ๆ เพื่อชวนให้คิด ถ้านำมาใช้ให้เหมาะกับเรื่องที่กำลังพูดกัน จะทำให้เข้าใจเรื่องที่พูดนั้นชัดเจนขึ้น
กะเพรา กระเพรา กะเพา เขียนอย่างไรจึงจะมีความหมายถูกต้อง กะเพรา หรือ กระเพรา อีกหนึ่งคำศัพท์ที่เรามักจะสับสนจนทำให้เขียนผิดอยู่เรื่อย ๆ แล้วตกลงคำไหนถูกกันหล่ะ ในบทความนี้มีคำตอบ
คำในภาษาไทยที่อ่านยาก ระดับปราบเซียน! เราจึงได้รวบรวมคำในภาษาไทยที่คิดว่าทำให้หลายคนเกิดปัญหาอ่านไม่ออกหรือสะกดไม่ได้ ซึ่งก็มีหลายคำเลยทีเดียว มาดูกันเลยว่ามีคำไหนบ้าง
ความหมายของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์เป็นคำสุภาพที่นำมาใช้โดยแบ่งการใช้งานไปตามลำดับชั้นวรรณะ โดยบุคคลแต่ละฐานะจะใช้คำราชาศัพท์คนละลำดับชั้นกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มฐานะบุคคล ได้แก่ พระมหากษัตริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, พระสงฆ์, ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง และสุภาพชนทั่วไป
เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 2 : Number Prefixes Number Prefixes ซึ่งก็คือส่วนที่เติมไปหน้าคำแล้วทำให้คำมีความหมายเกี่ยวกับตัวเลข คำศัพท์เหล่านี้ก็เป็นคำที่เราเจอบ่อยๆ และใช้กันอยู่ทุกๆ วัน
ปราชญ์ พึงรักษาศีล ปราชญ์ หมายถึง บุคคลผู้มีปัญญา รู้ว่าสิ่งไหนควรทำหรือไม่ควร รู้ว่าอะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป และละสิ่งที่เป็นบาป เจริญแต่สิ่งที่เป็นกุศล การรักษาศีลก็เป็นการทำบุญกุศล อย่างหนึ่งซึ่งมีอานิสงส์มาก ปราชญ์ท่านก็รู้จึงได้รักษาอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ เพราะเมื่อรักษาศีลให้ดีให้เคร่งครัดแล้ว ก็ไม่ต้องกลัวต่อโทษและภัยต่าง ๆ ทั้งยังเป็นการป้องกันจากอบาย และเป็นหนทางที่จะยกตนขึ้นสู่การปฏิบัติธรรมชั้นสูง ๆ ขึ้นไปอีก จนกนะทั่งถึงพระนิพพาน
รวมคำทับศัพท์ที่ขึ้นต้นหรือลงท้ายด้วยอัป-อัพ การเขียนคำทับศัพท์ผิดเป็นเรื่องที่พบได้บ่อยครั้ง เนื่องจากเป็นการเขียนเพื่อต้องการให้ออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาเดิมของคำนั้นมากที่สุด ด้วยข้อจำกัดของเสียงและภาษาที่แตกต่างกันจึงทำให้ใครหลายคนสะกดหรือเขียนผิดไปจากหลักเกณฑ์การทับศัพท์ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา