คำไวพจน์: กระต่าย - คำไวพจน์ของ กระต่าย พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "สิงโต" คือ ศศ ศศะ หริณะ
การใช้ ร หัน(รร) หลายๆคน อาจจะเคยมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องการอ่านคำที่มี รร (ร หัน) มาก่อน เช่น คำว่า กรรไกร ขรรค์ เป็นต้น ซึ่งคำพวกนี้จะอ่านยากนิดหน่อยครับ วันนี้เราจะมาสรุปสั้นๆ การใช้ รร กันครับ เอาละจะได้ไม่เสียเวลามาดูกันเลย
อักษรย่อโรงเรียน เดิมคำว่าโรงเรียนใช้อักษรย่อว่า ร.ร. แต่หลังจากนั้นราชบัณฑิตยสภาได้เปลี่ยนให้มาใช้ รร. เหมือนกับคำว่าโรงแรม ดังนั้น ทั้งโรงเรียนและโรงแรมใช้อักษรย่อว่า รร. เหมือนกัน
คำไวพจน์: นกยูง - คำไวพจน์ของ นกยูง พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "นกยูง" คือ เมารี โมร โมรี โมเรส กระโงก กุโงก มยุรา มยุระ มยุเรศ มยุรี มยุร
"Update" เขียนเป็นภาษาไทยยังไง อัปเดต หรือ อัพเดท หลายครั้งหลายคราที่จะใช้คำ "Update" ในแบบภาษาไทย แต่ก็ไม่แน่ใจว่าจะเขียนยังไงดี เนื่องจากเข้าใจว่าต้องเขียนเป็น "อัปเดต" แต่พอเอาไปพิมพ์ลองใน Google ก็ดันแนะนำว่าต้องเป็น "อัพเดต" แทนเฉยเลย รวมถึงบทความต่าง ๆ ก็นิยมใช้ "อัพเดต" กันเสียด้วย
คำไวพจน์: ปลา - คำไวพจน์ของ ปลา พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "ปลา" มัจฉา มัสยา มัจฉาชาติ มิต ชลจร วารีชาติ อัมพุชา มีน มีนา ปุถุโลม
"สังเกต" หรือ "สังเกตุ" คำไหนเขียนถูกต้อง เป็นอีกหนึ่งคำในภาษาไทยที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาเรื่อย ๆ หลายคนเข้าใจว่า ต้องเขียนว่า "สังเกตุ" คือ มีสระอุ ใต้ "ต. เต่า"
คำขวัญวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2567 และรวมทุกนายกที่ผ่านมา วันเด็กแห่งชาติ ของประเทศไทย ตรงกับวันเสาร์ที่ 2 ของเดือนมกราคมของทุกปี จะมีการให้ คำขวัญวันเด็กทุกปีโดยนายกรัฐมนตรีไทย เริ่มต้นจัดงานวันเด็กครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2498 โดยได้กำหนดให้วันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม เป็นวันเด็กแห่งชาติ
10 ประโยคภาษาอังกฤษ เมื่อรับสายคนโทรผิด หลายคนคงมีประสบการณ์การรับสายเบอร์แปลกซึ่งก็เป็นคนรู้จักที่เปลี่ยนเบอร์ใหม่ บางทีเขาก็โทรมาผิดเบอร์ ถ้าเขาเป็นคนไทยก็คงมีประโยคสุภาพ ๆ ตอบกลับไม่ยากอะไร แต่ถ้าเป็นชาวต่างชาติที่พูดภาษาอังกฤษหล่ะ
ตำแหน่ง เจ้าคุณพระ ที่มาแต่อดีต ตั้งแต่โบราณ เปิดความรู้เรื่องยศ เจ้าคุณพระ หรือ พระสนมเอก ภายหลังการสถาปนา เจ้าคุณพระสินีนาฏ ในปีพ.ศ. 2562
อนุญาต ที่ไม่ใช่ อนุญาติ คำในภาษาไทยอีกหนึ่งคำที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาตลอด หากมีโพลสำรวจก็คงหนีไม่พ้นอันดับต้น ๆ นั่นคือคำว่า อนุญาต ที่เขียนผิดโดยการเติม สระอิ ไปบน ต.เต่า กลายเป็นคำว่า อนุญาติ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่เองก็พลาดกันบ่อยครั้งกับคำนี้
คำควบกล้ำไม่แท้ 40 คำ คำควบไม่แท้ คือ คำควบที่ออกเสียงแต่พยัญชนะต้นตัวหน้าตัวเดียวบ้าง ออกเสียงกลายเป็นตัวอื่นไปบ้าง มี 2 ลักษณะ ไม่ออกเสียง /ร/ หรือ ออกเสียง /ซ/