เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 3 : Prefixes of time prefixes of time หรือส่วนเติมหน้าคำศัพท์แล้วให้ความหมายเกี่ยวกับเวลานั่นเอง มาเริ่มกันเลยดีกว่า
กริยา 3 ช่อง ที่เติม ed กริยาปกติ กริยาผันปกติ REGULAR VERB คือ ชุดคำกริยาภาษาอังกฤษที่เปลี่ยนรูปตาม tense แบบแค่เติม ed ได้ตามปกติ โดยที่ไม่ต้องเปลี่ยนคำใหม่
เปลี่ยนคำเอกพจน์เป็นคำพหูพจน์ในภาษาอังกฤษ หลายคนคงเคยได้ยินกฏหรือหลักการการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์เป็นคำนามพหูพจน์กันมาบ้างแล้ว ถ้ายังจำได้มีข้อง่ายคือตาม s ตามหลังเลย แต่หากเป็นสละก็ให้เติม es หรือต้องเปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es อะไรทำนองนี้ ยากใช่มั้ยหล่ะ
หลักการเติม ed หลังคำกริยา สำหรับ Regular Verbs ในคำกริยาช่อง 2 และช่อง 3 จากวันก่อนที่ได้อธิบายเรื่อง กริยา 3 ช่อง และเห็นประเภทของคำกริยา 3 ช่องไปแล้ว นั่นคือมี Regular Verbs (กริยาผันปกติ - เติม ed) และ Irregular Verbs (กริยาผันไม่ปกติ) เดี๋ยววันนี้เราจะมาดูหลักการเติม ed ใน irregular verbs กัน และนี่สำคัญเพราะออกข้อสอบกันอยู่เรื่อยๆ จ้า
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 5 : Prefixes for amount Prefixes for amount หรือส่วนเติมข้างหน้าคำศัพท์แล้วให้ความหมายเกี่ยวกับปริมาณ ซึ่งเป็นอีก prefixes หนึ่งที่มีความสำคัญไม่ต่างจากประเภทอื่นๆ เลย
เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 4 : Locative prefixes Locative prefixes หรือส่วนเติมข้างหน้าคำศัพท์แล้วให้ความหมายเกี่ยวกับสถานที่ หากใครยังไม่เข้าใจ หรือลืมไปแล้วว่า prefixes คืออะไร เรามาทวนกันอีกครั้งครับ
กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 2 : Number Prefixes Number Prefixes ซึ่งก็คือส่วนที่เติมไปหน้าคำแล้วทำให้คำมีความหมายเกี่ยวกับตัวเลข คำศัพท์เหล่านี้ก็เป็นคำที่เราเจอบ่อยๆ และใช้กันอยู่ทุกๆ วัน
กริยา 3 ช่อง 100 คํา พร้อมคำอ่าน คำแปล (อัปเดต 2024) กริยา 3 ช่องที่เปลี่ยนช่อง 2 หรือช่อง 3 โดยไม่เติม -ed แบบไม่มีกฎตายตัวนั้นต้องอาศัยการจำ เราจะเรียกกริยาพวกนี้ว่า กริยาอปกติ ภาษาอังกฤษคือ Irregular Verbs
กริยา 3 ช่อง Irregular Verbs พร้อมคำอ่าน คำแปล กริยา 3 ช่อง หลายคำมีการเปลี่ยนรูปคำตามกาล (Tense) บางคำไม่เปลี่ยนเลยใช้รูปคำเดียวกันทุกช่อง เพียงแค่เติม -ed ต่อท้าย แต่บางครั้งก็ออกเสียงไม่เหมือนกันก็มี
อนุญาต ที่ไม่ใช่ อนุญาติ คำในภาษาไทยอีกหนึ่งคำที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาตลอด หากมีโพลสำรวจก็คงหนีไม่พ้นอันดับต้น ๆ นั่นคือคำว่า อนุญาต ที่เขียนผิดโดยการเติม สระอิ ไปบน ต.เต่า กลายเป็นคำว่า อนุญาติ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่เองก็พลาดกันบ่อยครั้งกับคำนี้