หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
ปดิวรัดา เมื่อวานเห็นโฆษณาในทีวีช่อง 3 HD มีละครเรื่องหนึ่งที่พยายามจะการยังไงก็อ่านไม่ออก เพราะด้วยการสะกดและการรูปแบบที่แปลกตา ตอนอ่านผ่าน ๆ อ่านได้ว่า ปะ ดิว รัด ดา แต่ก็ยังรู้สึกขัด ๆ ว่ามันไม่น่าจะใช่แบบนี้นะ เลยพยายามค้นหาจนได้คำอ่านที่ถูกต้องและความหมายมาด้วย ดังนี้
สุภาษิตไทยเกี่ยวกับการเมือง ณ เวลานี้คงไม่มีอะไรเป็นประเด็นร้อนที่ประชาชนให้ความสนใจเท่ากับข่าวการเมืองอีกแล้ว เรื่องของการเมืองเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันมานานไม่รู้จบสิ้นในสังคมไทย ต่างคนก็ต่างมุมมองความคิด แต่วันนี้เราไม่ได้มาพูดถึงเหตุการณ์บ้านเมืองแต่อย่างใด เพียงแต่เราจะหยิบยกสุภาษิต สำนวนไทยที่เข้ากับการเมืองไทยในช่วงนี้มาให้คุณผู้อ่านได้ลองขบคิดตามกัน
พิธีราชาภิเษก ใกล้เข้ามาทุกทีสำหรับวันสำคัญของปวงชนชาวไทย นั้นก็คือพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม พุทธศักราช 2562 วันนี้เราจึงนำสาระความรู้ที่คนไทยควรรู้ในวันสำคัญนี้มาให้ได้อ่านดูกัน ตามนี้เลย
คำราชาศัพท์ที่พบในพิธีราชาภิเษก ใกล้เข้ามาทุกทีสำหรับวันสำคัญของปวงชนชาวไทย นั้นก็คือพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ระหว่างวันที่ 4-6 พฤษภาคม พุทธศักราช 2562 ในพิธีบรมราชาภิเษกหรือพระราชพิธีอื่น ๆ นั้นจะมีคำราชาศัพท์ใดบ้างที่เกี่ยวข้อง