ความหมายของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์เป็นคำสุภาพที่นำมาใช้โดยแบ่งการใช้งานไปตามลำดับชั้นวรรณะ โดยบุคคลแต่ละฐานะจะใช้คำราชาศัพท์คนละลำดับชั้นกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มฐานะบุคคล ได้แก่ พระมหากษัตริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, พระสงฆ์, ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง และสุภาพชนทั่วไป
มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาเรื่องมูลเหตุของการเกิดคำราชาศัพท์ ว่าทำไมถึงมี และมีได้อย่างไร เรามาขยายความกันในวันนี้เลยดีกว่า มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์นั้น คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติ พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ และบุคคลชั้นสูง
ปราชญ์ พึงรักษาศีล ปราชญ์ หมายถึง บุคคลผู้มีปัญญา รู้ว่าสิ่งไหนควรทำหรือไม่ควร รู้ว่าอะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป และละสิ่งที่เป็นบาป เจริญแต่สิ่งที่เป็นกุศล การรักษาศีลก็เป็นการทำบุญกุศล อย่างหนึ่งซึ่งมีอานิสงส์มาก ปราชญ์ท่านก็รู้จึงได้รักษาอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ เพราะเมื่อรักษาศีลให้ดีให้เคร่งครัดแล้ว ก็ไม่ต้องกลัวต่อโทษและภัยต่าง ๆ ทั้งยังเป็นการป้องกันจากอบาย และเป็นหนทางที่จะยกตนขึ้นสู่การปฏิบัติธรรมชั้นสูง ๆ ขึ้นไปอีก จนกนะทั่งถึงพระนิพพาน
ปวช. ย่อมาจากอะไร มีสาขาอะไร และเรียนต่ออะไรบ้าง ปวช. ย่อมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยเป็นวุฒิการศึกษาที่เทียบเท่ากับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.3-ม.6 นั่นเอง สามารถทำการเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้เหมือนม.6
Comparison - การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบ คือ การใช้ Adjective และ Adverb มาเป็นตัวบ่งบอกถึงความแตกต่างของสิ่งของ คน หรือเหตุการณ์ โดยจะแบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นเท่ากัน ขั้นกว่า ขั้นสูงสุด