ความหมายของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์เป็นคำสุภาพที่นำมาใช้โดยแบ่งการใช้งานไปตามลำดับชั้นวรรณะ โดยบุคคลแต่ละฐานะจะใช้คำราชาศัพท์คนละลำดับชั้นกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มฐานะบุคคล ได้แก่ พระมหากษัตริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, พระสงฆ์, ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง และสุภาพชนทั่วไป
คำที่มีตัวการันต์ ตัวการันต์ คือ คำที่มีไม้ทัณฑฆาตกำกับ ( ์ ) กำกับอยู่บนพยัญชนะ เพื่อแสดงให้รู้ว่าไม่ต้องอ่านออกเสียงพยัญชนะตัวนั้น และรวมคำที่มีตัวการันต์ทั้งหมดมาไว้ในบทความแล้ว
มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาเรื่องมูลเหตุของการเกิดคำราชาศัพท์ ว่าทำไมถึงมี และมีได้อย่างไร เรามาขยายความกันในวันนี้เลยดีกว่า มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์นั้น คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติ พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ และบุคคลชั้นสูง
อนุญาต ที่ไม่ใช่ อนุญาติ คำในภาษาไทยอีกหนึ่งคำที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาตลอด หากมีโพลสำรวจก็คงหนีไม่พ้นอันดับต้น ๆ นั่นคือคำว่า อนุญาต ที่เขียนผิดโดยการเติม สระอิ ไปบน ต.เต่า กลายเป็นคำว่า อนุญาติ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่เองก็พลาดกันบ่อยครั้งกับคำนี้
ปราชญ์ พึงรักษาศีล ปราชญ์ หมายถึง บุคคลผู้มีปัญญา รู้ว่าสิ่งไหนควรทำหรือไม่ควร รู้ว่าอะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป และละสิ่งที่เป็นบาป เจริญแต่สิ่งที่เป็นกุศล การรักษาศีลก็เป็นการทำบุญกุศล อย่างหนึ่งซึ่งมีอานิสงส์มาก ปราชญ์ท่านก็รู้จึงได้รักษาอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ เพราะเมื่อรักษาศีลให้ดีให้เคร่งครัดแล้ว ก็ไม่ต้องกลัวต่อโทษและภัยต่าง ๆ ทั้งยังเป็นการป้องกันจากอบาย และเป็นหนทางที่จะยกตนขึ้นสู่การปฏิบัติธรรมชั้นสูง ๆ ขึ้นไปอีก จนกนะทั่งถึงพระนิพพาน