ความหมายของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์เป็นคำสุภาพที่นำมาใช้โดยแบ่งการใช้งานไปตามลำดับชั้นวรรณะ โดยบุคคลแต่ละฐานะจะใช้คำราชาศัพท์คนละลำดับชั้นกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มฐานะบุคคล ได้แก่ พระมหากษัตริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, พระสงฆ์, ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง และสุภาพชนทั่วไป
รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดและรหัสจังหวัด เรามีชื่อจังหวัดของประเทศไทยแล้วในบทความก่อนหน้านี้ แต่ที่ยังขาดไปคือรหัสจังหวัดที่ระบุไว้ในระบบของมหาดไทย โดยถ้าสังเกตดี ๆ จะเห็นว่าเป็นเลขนำหน้ารหัสไปรษณีย์ของแต่ละจังหวัดนั่นเอง
มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์ มีหลายคนสอบถามมาเรื่องมูลเหตุของการเกิดคำราชาศัพท์ ว่าทำไมถึงมี และมีได้อย่างไร เรามาขยายความกันในวันนี้เลยดีกว่า มูลเหตุที่ทำให้เกิดมีคำราชาศัพท์นั้น คือ ต้องการยกย่องให้เกียรติ พระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ และบุคคลชั้นสูง
การใช้สระ หากกล่าวถึงหลักภาษาสิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้ก็คือ สระ หลายคนรู้จักสระในภาษาไทยกันดี แต่รู้การใช้สระหรือไม่ว่าเป็นอย่างไร วันนี้เราจะมาหาคำตอบนั้น มาดูกันเลย
รวมคําคมการออมเงิน คำคมแก้จน ใกล้ปีใหม่กันแล้ว หลายคนกำลังวางแผน หรือตั้งใจจะทำอะไรใหม่ และที่ขาดไม่ได้คือเรื่องนี้เลย การออมเงิน ผมเดาถูกใช่มั้ย เพราะใครต่อใครก็อยากมีชีวิตที่ดีขึ้นกันหมดแหละ และหนึ่งในปัจจัยที่ทำให้ชีวิตเราดีขึ้น คือการมีเงินเก็บที่เยอะขึ้น ทั้งเผื่อใช้จ่ายในอนาคตและเหตุฉุกเฉินต่างๆ
ปราชญ์ พึงรักษาศีล ปราชญ์ หมายถึง บุคคลผู้มีปัญญา รู้ว่าสิ่งไหนควรทำหรือไม่ควร รู้ว่าอะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป และละสิ่งที่เป็นบาป เจริญแต่สิ่งที่เป็นกุศล การรักษาศีลก็เป็นการทำบุญกุศล อย่างหนึ่งซึ่งมีอานิสงส์มาก ปราชญ์ท่านก็รู้จึงได้รักษาอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ เพราะเมื่อรักษาศีลให้ดีให้เคร่งครัดแล้ว ก็ไม่ต้องกลัวต่อโทษและภัยต่าง ๆ ทั้งยังเป็นการป้องกันจากอบาย และเป็นหนทางที่จะยกตนขึ้นสู่การปฏิบัติธรรมชั้นสูง ๆ ขึ้นไปอีก จนกนะทั่งถึงพระนิพพาน