ภาษาทางการ หรือ ภาษาราชการ ในการสื่อสารของมนุษย์ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด สิ่งหนึ่งที่ต้องคำนึงถึงในการสื่อสารนั้นก็คือมารยาทและความเหมาะสมที่ใช้ ไม่ว่าจะเป็นการพูดหรือการเขียนก็ต้องดูความเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาไทย วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงดับภาษาที่เป็นทางการว่าควรพูดอย่างไร ควรใช้คำในรูปแบบไหน สถานการณ์ใดจึงจะเหมาะสม แล้ววันนี้เราจะได้รู้กัน
คำภาษาอังกฤษในภาษาไทย ในวันนี้เราจะมาพูดถึงคำศัพท์ที่ไทยเราได้ยืมมาจากภาษาอังกฤษมาดูกันว่ามีคำไหนและหลักการอย่างไรบ้างมาดูกันเลย
30 คำสแลงยอดนิยมในภาษาไทย คำสแลง หมายถึง ภาษาสแลง คำสแลง หรือคำคะนอง ถ้อยคำที่เป็นภาษาพูดและใช้ในกลุ่มคนบางกลุ่ม (Slang)
กะเพรา & คำที่ขึ้นต้นด้วย กะ หากจะพูดถึงความสับสนงงงวยทางภาษาแน่นอนว่าภาษาไทยเราต้องติดอันดับอย่างแน่นอน เนื่องจากมีไวยากรณ์ที่ยากและเยอะ อย่างคำศัพท์ในบทความนี้
ระดับของภาษา ในชีวิตประจำวันเราต่างสื่อสารกันอย่างมากมายหลากหลายผู้คนซึ่งภาษาและลักษณะภาษาที่ใช้พูดกับแต่ละบุคคลก็แตกต่างกัน วันนี้ทุกคนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับลักษณะของภาษาว่าแต่ละระดับใช้อย่างไรและแตกต่างกันอย่างไรดังต่อไปนี้
ภาษาบาลี-สันกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ
คำซ้ำ (Reduplication) พูดถึงเรื่องของคำซ้ำ หรือ reduplication ในภาษาต่าง ๆ ก็มีอยู่มากมาย รวมถึงในภาษาไทยเราด้วย ภาษาไทยเราเรียกได้ว่าเป็นหนึ่งในภาษาที่มีความหลากหลายมากที่สุดภาษาหนึ่ง การสร้างคำต่าง ๆ ขึ้นมาจึงมีหลายวิธีในการสรรสร้างเพื่อให้ได้คำหรือความหมายใหม่ขึ้นมารวมถึงวิธีการซ้ำคำด้วย วันนี้เราจึงหยิบเรื่องคำซ้ำมาให้เรียนรู้กัน มาดูกันเลย
การใช้สระไอ ใอ ไอย อัย ภาษาไทยนั้นถือได้ว่าเป็นภาษาที่มีความซับซ้อนภาษาหนึ่งในโลกและวันนี้เราจะมาพูดถึงความแตกต่างในการใช้สระที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันอย่างไอ ใอ ไอย อัย
คำไวพจน์ที่พบบ่อย หลายคนคงเคยประสบพบเจอปัญหาสับสนกับคำในภาษาไทยที่มีมากมายเหลือเกิน ทั้งที่บางคำก็เป็นคำที่มีความหมายถึงสิ่งเดียวกันแท้ ๆ เมื่อพูดถึงคำที่มีความหมายเหมือนกันแต่วิธีการเขียนและอ่านต่างกัน ในภาษาไทยเราจะเรียกว่า “คำไวพจน์”
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
ความหมายคำว่า "เวจ" จากละครบุพเพสันนิวาส วินาทีนี้คงไม่มีใครไม่รู้จักละครเรื่องบุพเพสันนิวาสที่เป็นกระแสอย่างมากทั่วทั้งโซเชียล จะเห็นว่าคนแทบทุกวัยต่างพากันพูดถึงละครเรื่องบุพเพสันนิวาส แถมนำคำบางคำในละครที่ไม่ค่อยได้ยินแล้วในปัจจุบันมาพูดกันทั่วบ้านทั่วเมือง มีคำศัพท์คำหนึ่งที่หลายคนพูดติดปากกันมากนั่นคือคำว่า "เวจ" วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงคำนี้กันว่ามีความหมายว่าอย่างไรกันแน่