การใช้สระในภาษาไทย วันนี้ผมมีบทความเกี่ยวกับหลักภาษาไทยมาให้ผู้อ่านได้ลองศึกษากันโดยเราจะขอพูดถึงเรื่องของสระ นั้นก็คือการใช้สระ อย่างที่เคยกล่าวว่าภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์และมีความยากในตัว แม้กระทั่งคนไทยเองยังเกิดความสับสน ในเรื่องการใช้สระก็เช่นเดียวกันบางคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องง่ายและบางคนอาจจะมองว่าเป็นเรื่องที่ยาก ผมจึงรวบรวมและสรุปสาระสำคัญเรื่องการใช้สระในภาษาไทยไว้ดังนี้
เกร็ดความรู้จากละครข้ามสีทันดร วันนี้เราจะขอพูดถึงละครที่กำลังออนแอร์ในขณะนี้ของพระเอกสุดฮอตอย่างหนุ่มโป๊ป ธนวรรธน์นั้นก็คือเรื่องข้ามสีทันดรนั้นเอง ซึ่งละครเรื่องนี้ถือว่าเป็นละครสะท้อนปัญหาสังคมน้ำดีเรื่องหนึ่งเลยก็ว่าได้นอกจากจะได้ความสนุกแล้วยังได้ข้อคิดสะท้อนปัญหาครอบครัวอีกด้วย เมื่อละครดีขนาดนี้เราจึงอยากมานำเสนอสาระเกร็ดความรู้เกี่ยวกับละครเรื่องนี้ให้ทุกคนได้รู้กัน มาดูกันเลยดีกว่า
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม คำราชาศัพท์ หมวดสรรพนาม ประกอบไปด้วย ข้าพระพุทธเจ้า = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), กระผม, ดิฉัน = แทนชื่อผู้พูด (บุรุษที่ 1), ใต้ฝ่าละอองธุรีพระบาท = แทนชื่อที่พูดด้วย (บุรุษที่ 2)
ความหมายคำว่า "เวจ" จากละครบุพเพสันนิวาส วินาทีนี้คงไม่มีใครไม่รู้จักละครเรื่องบุพเพสันนิวาสที่เป็นกระแสอย่างมากทั่วทั้งโซเชียล จะเห็นว่าคนแทบทุกวัยต่างพากันพูดถึงละครเรื่องบุพเพสันนิวาส แถมนำคำบางคำในละครที่ไม่ค่อยได้ยินแล้วในปัจจุบันมาพูดกันทั่วบ้านทั่วเมือง มีคำศัพท์คำหนึ่งที่หลายคนพูดติดปากกันมากนั่นคือคำว่า "เวจ" วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงคำนี้กันว่ามีความหมายว่าอย่างไรกันแน่
30 คำสแลงยอดนิยมในภาษาไทย คำสแลง หมายถึง ภาษาสแลง คำสแลง หรือคำคะนอง ถ้อยคำที่เป็นภาษาพูดและใช้ในกลุ่มคนบางกลุ่ม (Slang)
คําพังเพย หมายถึง? คําพังเพย หมายถึง ถ้อยคำที่เป็นสำนวนที่พูดไว้กลาง ๆ เพื่อชวนให้คิด ถ้านำมาใช้ให้เหมาะกับเรื่องที่กำลังพูดกัน จะทำให้เข้าใจเรื่องที่พูดนั้นชัดเจนขึ้น
คำสรรพนาม ในชีวิตประจำวันเราพูดคุยกันเป็นเรื่องธรรมดาแต่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่าคำที่ใช้แทนตัวผู้พูดและตัวคู่สนทนานั้นเรียกว่าอะไรด้วยซ้ำ เอ.. หรือนั่นคือคำสรรพนาม วันนี้เราจะมาพูดถึงคำเหล่านี้นั้นก็คือ คำสรรพนาม
ภาษาทางการ หรือ ภาษาราชการ ในการสื่อสารของมนุษย์ไม่ว่าจะเชื้อชาติใด สิ่งหนึ่งที่ต้องคำนึงถึงในการสื่อสารนั้นก็คือมารยาทและความเหมาะสมที่ใช้ ไม่ว่าจะเป็นการพูดหรือการเขียนก็ต้องดูความเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาษาไทย วันนี้เราจึงจะมาพูดถึงดับภาษาที่เป็นทางการว่าควรพูดอย่างไร ควรใช้คำในรูปแบบไหน สถานการณ์ใดจึงจะเหมาะสม แล้ววันนี้เราจะได้รู้กัน
คำภาษาอังกฤษในภาษาไทย ในวันนี้เราจะมาพูดถึงคำศัพท์ที่ไทยเราได้ยืมมาจากภาษาอังกฤษมาดูกันว่ามีคำไหนและหลักการอย่างไรบ้างมาดูกันเลย
กะเพรา & คำที่ขึ้นต้นด้วย กะ หากจะพูดถึงความสับสนงงงวยทางภาษาแน่นอนว่าภาษาไทยเราต้องติดอันดับอย่างแน่นอน เนื่องจากมีไวยากรณ์ที่ยากและเยอะ อย่างคำศัพท์ในบทความนี้
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึงอะไร พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำลึงทอง หมายถึง พูดไปก็ไม่มีประโยชน์ สู้นิ่งไว้ดีกว่า