ปดิวรัดา เมื่อวานเห็นโฆษณาในทีวีช่อง 3 HD มีละครเรื่องหนึ่งที่พยายามจะการยังไงก็อ่านไม่ออก เพราะด้วยการสะกดและการรูปแบบที่แปลกตา ตอนอ่านผ่าน ๆ อ่านได้ว่า ปะ ดิว รัด ดา แต่ก็ยังรู้สึกขัด ๆ ว่ามันไม่น่าจะใช่แบบนี้นะ เลยพยายามค้นหาจนได้คำอ่านที่ถูกต้องและความหมายมาด้วย ดังนี้
หลักการสื่อสารกันของมนุษย์ ในการติดต่อสื่อสารกันระหว่างมนุษย์กับมนุษย์นั้น มนุษย์ก็จะใช้วิธีการต่างๆ ซึ่งทำให้อีกฝ่ายหนึ่งรับรู้ความหมายของอีกฝ่ายหนึ่ง การติดต่อสื่อสารกันเป็นกระบวนการของมนุษย์ที่ใช้สำหรับการแลกเปลี่ยน ความรู้ ความรู้สึก ความคิดเห็น อารมณ์ ความต้องการ ทัศนคติ และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน วันนี้เราจะนำหลักการเล็ก ๆ น้อย ๆ ในการสื่อสารมาให้ผู้อ่านได้ศึกษา
มังสวิรัติกับการกินเจต่างกันอย่างไร เทศกาลกินเจในช่วงนี้ทำให้ผมนึกสงสัยว่า การกินเจ อาหารเจนั้นแตกต่างกับมังสวิรัติอย่างไร เพราะลองนึก ๆ ดูก็รู้สึกว่ามันเหมือนกันเลย แต่พอลองอ่านทำความเข้าใจดูก็พบว่ามันมีจุดที่แตกต่างกันอยู่ งั้นมาดูกันเลยดีกว่าว่าแตกต่างกันอย่างไร
คําพังเพย หมายถึง? คําพังเพย หมายถึง ถ้อยคำที่เป็นสำนวนที่พูดไว้กลาง ๆ เพื่อชวนให้คิด ถ้านำมาใช้ให้เหมาะกับเรื่องที่กำลังพูดกัน จะทำให้เข้าใจเรื่องที่พูดนั้นชัดเจนขึ้น
สำนวนไทยพร้อมความหมาย พูดถึงสำนวนคนไทยเองก็ได้สร้างสรรค์สำนวนหรือวลีแทนประโยคที่ต้องการจะสื่อได้อย่างน่าสนใจและเกิดภาพให้เข้าใจ ถ้าอย่างนั้นลองมาดูกันเลยมีสำนวนใดบ้างที่อาจจะคุ้นหูคุ้นตา
ความหมายของคำว่า "ออเจ้า" มองไปทางไหนก็เห็นแต่คนพูดถึงกระแสความดังของละครบุพเพสันนิวาส นาทีนี้คงต้องยกให้ละครเรื่องนี้จริงๆที่ทำให้สถานที่ท่องเที่ยวและคำเก่าในสมัยโบราณโดยเฉพาะคำเรียกคนอื่นอย่างคำว่า’’ออเจ้า’’เป็นกระแสขึ้นมาอย่างน่าประหลาดใจ ถ้าจะไม่พูดถึงความหมายของคำนี้ก็เห็นจะไม่ได้แล้ววันนี้เราจึงจะมาอธิบายถึงคำว่าออเจ้าว่ามีความหมายว่าอย่างไร
180 สํานวนสุภาษิต พร้อมความหมาย สุภาษิตไทย คือ คำที่มุ่งสั่งสอนให้ ประพฤติปฏิบัติดี โดยเป็นเพียง คำสั้น ๆ มีความคมคาย ไพเราะ น่าฟัง จำง่าย
วรรณคดี หมายถึงอะไร? เรียนรู้ภาษาไทยในวันนี้ เรามาทำความรู้จักกับ “วรรณคดี” กันนะครับ ว่ามีความหมายว่าอย่างไร และมีกี่ประเภท
ความหมายของคำราชาศัพท์ คำราชาศัพท์เป็นคำสุภาพที่นำมาใช้โดยแบ่งการใช้งานไปตามลำดับชั้นวรรณะ โดยบุคคลแต่ละฐานะจะใช้คำราชาศัพท์คนละลำดับชั้นกัน ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มฐานะบุคคล ได้แก่ พระมหากษัตริย์, พระบรมวงศานุวงศ์, พระสงฆ์, ข้าราชการชั้นสูงหรือขุนนาง และสุภาพชนทั่วไป
คำพ้องความหมาย จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ
คำมูล คำมูล หมายถึง คำพื้นฐานที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัวเองโดยไม่ได้ประสมกับคำอื่น ซึ่งคำมูลนี้จะเป็นพยางค์เดียว หรือหลายพยางค์ก็ได้ ได้แก่