การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ ก่อนอื่น หลายคนคงสงสัยว่า คำว่า คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ เขียนอย่างไรถึงถูกต้องกันแน่ บางคนเขียน "ค๊ะ" ใส่ไม้ตรีก็มี ซึ่งใครที่สงสัยเรื่องนี้ ต้องย้อนกลับไปดูหลักภาษาไทยพื้นฐานสมัยประถมกันก่อนคะ เอ้ยยยย ค่ะ โดยเฉพาะเรื่อง "อักษรสูง-อักษรต่ำ", "คำเป็น-คำตาย" และการผันวรรณยุกต์วันนี้เราจะมาแยกใช้ให้ออกกัน มาดูกันเลย
ต้นเรือ คืออะไร? วันนี้เรามาทำความรู้จักกับหน้าที่ของบุคลากรในการเดินเรือกันครับ ขอเชิญพบกับหนึ่งในบุคคลที่มีหน้าที่สำคัญ นั่นก็คือ ต้นเรือ (Chief Officer) ครับ ไปดูขอบเขตหน้าที่ของต้นเรือกันเลย
กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
การใช้ ร หัน(รร) หลายๆคน อาจจะเคยมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องการอ่านคำที่มี รร (ร หัน) มาก่อน เช่น คำว่า กรรไกร ขรรค์ เป็นต้น ซึ่งคำพวกนี้จะอ่านยากนิดหน่อยครับ วันนี้เราจะมาสรุปสั้นๆ การใช้ รร กันครับ เอาละจะได้ไม่เสียเวลามาดูกันเลย
วรรณคดี หมายถึงอะไร? เรียนรู้ภาษาไทยในวันนี้ เรามาทำความรู้จักกับ “วรรณคดี” กันนะครับ ว่ามีความหมายว่าอย่างไร และมีกี่ประเภท
คำราชาศัพท์ที่เกี่ยวกับหมวดร่างกาย วันนี้เรามารู้จักคำราชาศัพท์ในหมวดที่เกี่ยวกับร่างกายที่อาจจะยังไม่รู้กันครับ
50 สำนวนไทย ที่ได้ยินบ่อย ๆ สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ มาพบกันคราวนี้มีเรื่องเกี่ยวกับสำนวนไทยมาฝากให้ได้ศึกษากันครับ การนำถ้อยคำสำนวนไปใช้ให้ถูกต้องและเหมาะสมตรงกับวัตถุประสงค์ กาลเทศะและบุคคลก็ย่อมต้องรู้ความหมายของสำนวนนั้นด้วยถึงจะใช้ได้ถูกต้อง วันนี้เราจึงนำ 50 สำนวนที่ได้ยินบ่อย ๆ มาบอกความหมาย มาดูกันเลยมีสำนวนใดบ้าง
แปลเนื้อเพลงอิต "ห่อหมกฮวกไปฝากป้า" เมื่อช่วงสงกรานต์ที่ผ่านมาหลายคนคงได้ยินเพลงลูกทุ่งสุดกวนอย่างเพลง ห่อหมกฮวกไปฝากป้า อย่างมากแทบทุกพื้นที่และเชื่อว่าหลายคนอาจจะแปลเนื้อเพลงได้ไม่หมดแม้แต่คนอิสานเองก็อาจมีหลายคนที่ถึงกับงงกับคำบางคำในเพลง วันนี้เราจึงจะมาแปลความหมายของเพลงนี้กันครับว่ามีความหมายว่าอย่างไร
คำบอกรักวันวาเลนไทน์ สวัสดีเดือนแห่งความรักครับ พอพูดถึงเดือนกุมภาพันธ์หลายคนก็ต้องนึกถึงเทศกาลแห่งความรักวันวาเลนไทน์ 14 กุมภาพันธ์นั่นเอง เทศกาลวันวาเลนไทน์เป็นเทศกาลของชาวตะวันตกแต่คนไทยเองก็ให้ความนิยมและมีการแสดงความรักต่าง ๆ ในวันนี้เช่นเดียวกัน
เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 4 : Locative prefixes Locative prefixes หรือส่วนเติมข้างหน้าคำศัพท์แล้วให้ความหมายเกี่ยวกับสถานที่ หากใครยังไม่เข้าใจ หรือลืมไปแล้วว่า prefixes คืออะไร เรามาทวนกันอีกครั้งครับ
What goes around comes around แปลว่า? What goes around, comes around. เป็นสำนวนที่ใช้กันบ่อยพอสมควรนะครับ มันมีความหมายตรงกับสำนวนไทยที่กล่าวไว้ว่า "กงเกวียนกำเกวียน"
คำพ้องความหมาย จะเห็นได้ว่าที่จริงแล้วมันก็คือหนึ่งการเรียกชื่อของ คำไวพจน์ นั่นเอง โดยหมายถึง คำที่มีความหมายเหมือนกัน ซึ่งมีมากหลากหลายคำ บางครั้งคำไวพจน์ก็มีชื่อเรียกไปตามความเข้าใจว่าเป็น “การหลากคำ” บ้าง “คำพ้องความหมาย” บ้าง “คำพ้องความ” บ้าง ครับ