สำนวนไทย หมวด ก-ฮ สำนวนไทยเรียงตามตัวอักษร ก-ฮ พร้อมความหมาย รายคำ จัดลงตารางให้ดูได้โดยง่าย ตามที่หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2) หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
ภาษาบาลี-สันกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ
Wordy Guru แอปเดียว รวมทุกศัพท์ หลังจากที่ท่านผู้ใช้งานหลายต่อหลายท่านแนะนำมาว่าควรทำแอปฯ เวอร์ชันที่รวมเอาทุกหมวดไว้ให้สามารถค้นหาได้ในที่เดียว จึงเป็นที่มาของการพัฒนาแอป Wordy Guru ขึ้นมาเพื่อไม่ต้องเสียเวลาดาวน์โหลดหมวดต่าง ๆ แยกกัน
"ปรากฏ" กับ "ปรากฎ" คำไหนที่ถูกต้อง เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง อาจเพราะด้วยความสัปสนที่ลักษณะตัวอักษรคล้ายกันมาก ปรากฏ ใช้ ฏ ปฏัก ถึงจะเป็นคำที่เขียนถูกต้อง หมายเหตุ ใช้ ฏ ปฏัก
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก นอกจากเราใช้ภาษาเป็นเครื่องมือเพื่อการสื่อสารแล้วภาษายังแสดงถึงการถ่ายทอดทางวัฒนธรรมเพราะภาษาเป็นส่วนหนึ่งที่ถ่ายทอดสภาพความเป็นอยู่ของแต่ละสังคม คนไทยจึงภูมิใจในความเป็นไทยที่เรามีภาษาไทยอันงดงาม
มะล่องก่องแก่ง - พจน์ สายอินดี้ - แปลเพลง กลายเป็นเพลงสุดฮิต ดังชั่วข้ามคืน ยืนยันด้วยยอดวิวที่ขึ้นหลักล้านโดยใช้เวลาไม่กี่วัน หลังจากที่โซเชียลมีเดียมีการแชร์เพลง “มะล่องก่องแก่ง” ของ พจน์ สายอินดี้
30 คำกล่าวบอกลาภาษาอังกฤษ นอกจาก Good bye พวกเราชาวไทยมักจะชินกับการกล่าวคำอำลาภาษาอังกฤษที่มีคำว่า Bye อยู่ด้วย อาจจะเพราะด้วยความง่ายต่อการใช้ และไม่ต้องคิดอะไรมาก มันติดปากหน่ะแหละ
คำไวพจน์ ดอกบัว | คำคล้าย ดอกบัว คำไวพจน์ ของ "ดอกบัว" คือ อุบล บงกช นิลุบล นิโลตบล ปทุม สัตตบรรณ ปัทมา บุษกร สัตตบงกช จงกล บุณฑริก ปทุมา อุทุมพร สาโรช
หลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ การทับศัพท์ คือ การถอดอักษรในภาษาเดิม และเขียนให้อยู่ในรูปภาษาไทยที่อ่านได้สะดวกและเข้าใจ ซึ่งจะมีข้อยกเว้นตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ได้