สำนวนไทย หมวด ก-ฮ สำนวนไทยเรียงตามตัวอักษร ก-ฮ พร้อมความหมาย รายคำ จัดลงตารางให้ดูได้โดยง่าย ตามที่หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2) หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
ภาษาบาลี-สันกฤต ในบรรดาภาษาต่างประเทศที่มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมากที่สุด คือ ภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต คำยืมในภาษาไทยที่ยืมมาจากทั้งสองภาษานี้ เป็นคำที่มีใช้ในชีวิตประจำวันเป็นจำนวนมากทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ภาษาบาลีเข้ามาทางศาสนาพุทธ ส่วนภาษาสันสกฤตเข้ามาทางศาสนาพราหมณ์และวรรณคดีเรื่องมหาภารตะและรามายณะ
ปวช. ย่อมาจากอะไร มีสาขาอะไร และเรียนต่ออะไรบ้าง ปวช. ย่อมาจาก ประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยเป็นวุฒิการศึกษาที่เทียบเท่ากับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.3-ม.6 นั่นเอง สามารถทำการเข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้เหมือนม.6
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก นอกจากเราใช้ภาษาเป็นเครื่องมือเพื่อการสื่อสารแล้วภาษายังแสดงถึงการถ่ายทอดทางวัฒนธรรมเพราะภาษาเป็นส่วนหนึ่งที่ถ่ายทอดสภาพความเป็นอยู่ของแต่ละสังคม คนไทยจึงภูมิใจในความเป็นไทยที่เรามีภาษาไทยอันงดงาม
"Update" เขียนเป็นภาษาไทยยังไง อัปเดต หรือ อัพเดท หลายครั้งหลายคราที่จะใช้คำ "Update" ในแบบภาษาไทย แต่ก็ไม่แน่ใจว่าจะเขียนยังไงดี เนื่องจากเข้าใจว่าต้องเขียนเป็น "อัปเดต" แต่พอเอาไปพิมพ์ลองใน Google ก็ดันแนะนำว่าต้องเป็น "อัพเดต" แทนเฉยเลย รวมถึงบทความต่าง ๆ ก็นิยมใช้ "อัพเดต" กันเสียด้วย
ปวช. ปวส. ย่อมาจากอะไร & รวมตัวย่อวุฒิการศึกษาไทย เมื่อไม่นานมานี้มีข่าวนักศึกษาปวส.มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งรับน้องโหดจนเป็นข่าวฉาวดังทั่วประเทศ จากข่าวดังกล่าวมีประเด็นที่น่าสนใจนอกจากความรุนแรงในรั้วมหาวิทยาลัย
คำไวพจน์: ปลา - คำไวพจน์ของ ปลา พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้ คำไวพจน์ ของ "ปลา" มัจฉา มัสยา มัจฉาชาติ มิต ชลจร วารีชาติ อัมพุชา มีน มีนา ปุถุโลม
"สังเกต" หรือ "สังเกตุ" คำไหนเขียนถูกต้อง เป็นอีกหนึ่งคำในภาษาไทยที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาเรื่อย ๆ หลายคนเข้าใจว่า ต้องเขียนว่า "สังเกตุ" คือ มีสระอุ ใต้ "ต. เต่า"
อนุญาต ที่ไม่ใช่ อนุญาติ คำในภาษาไทยอีกหนึ่งคำที่มักจะเขียนและสะกดผิดกันมาตลอด หากมีโพลสำรวจก็คงหนีไม่พ้นอันดับต้น ๆ นั่นคือคำว่า อนุญาต ที่เขียนผิดโดยการเติม สระอิ ไปบน ต.เต่า กลายเป็นคำว่า อนุญาติ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่เองก็พลาดกันบ่อยครั้งกับคำนี้