Wordy Guru แอปเดียว รวมทุกศัพท์ หลังจากที่ท่านผู้ใช้งานหลายต่อหลายท่านแนะนำมาว่าควรทำแอปฯ เวอร์ชันที่รวมเอาทุกหมวดไว้ให้สามารถค้นหาได้ในที่เดียว จึงเป็นที่มาของการพัฒนาแอป Wordy Guru ขึ้นมาเพื่อไม่ต้องเสียเวลาดาวน์โหลดหมวดต่าง ๆ แยกกัน
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2) หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
"ปรากฏ" กับ "ปรากฎ" คำไหนที่ถูกต้อง เป็นอีกนึงคำที่ถูกถามเข้ามาเยอะมากว่าคำไหนถูกต้อง อาจเพราะด้วยความสัปสนที่ลักษณะตัวอักษรคล้ายกันมาก ปรากฏ ใช้ ฏ ปฏัก ถึงจะเป็นคำที่เขียนถูกต้อง หมายเหตุ ใช้ ฏ ปฏัก
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ 100 คำที่ควรรู้ คำราชาศัพท์ 100 คำที่ควรรู้ แยกตามหมวดต่าง ๆ หมวดละ 10 คำ คัดสรรมาให้เรียบร้อยทุกหมวดหมู่
การันต์ ไม่เท่ากับ ทัณฑฆาต ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า ทัณฑฆาต กับ การันต์ แยกออกจากกัน ไม่ใช่ตัวเดียวกัน เครื่องหมายนี้ ( ์ ) เรียกว่า ทัณฑฆาต หรือ ไม้ทัณฑฆาต
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ สำนวนไทยเรียงตามตัวอักษร ก-ฮ พร้อมความหมาย รายคำ จัดลงตารางให้ดูได้โดยง่าย ตามที่หลายคนคงกำลังตามหาสำนวนไทยแบบแยกตามหมวดหมู่อยู่หล่ะสิ นี่เลยทีมงาน Wordy Guru ได้รวบรวมมาไว้ให้ในนี้เลย โดยแยกหมวดหมู่ให้อยู่แยกหน้าเสร็จสรรพ เอาหล่ะไปดูกันเลย หากค้นหาคำไหนไม่เจอ ก็สามารถเข้าไปดูเพิ่มเติมได้ที่หน้าหลักของ สำนวนไทยได้ หรือจะค้นหาเป็นรายคำก็ได้เช่นกัน
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
คำไวพจน์ ดอกบัว | คำคล้าย ดอกบัว คำไวพจน์ ของ "ดอกบัว" คือ อุบล บงกช นิลุบล นิโลตบล ปทุม สัตตบรรณ ปัทมา บุษกร สัตตบงกช จงกล บุณฑริก ปทุมา อุทุมพร สาโรช
สํานวน สุภาษิต และคําพังเพย ต่างกันอย่างไร? หลายคนต่างสงสัยว่า สํานวน สุภาษิต และคําพังเพย นั้นต่างกันอย่างไรหรือว่าเป็นอันเดียวกันเลย เพราะว่าแทบจะแยกความแตกต่างไม่ออกเลย ซึ่งพอพิจารณาดี ๆ แล้วก็พอจะดูออกว่าต่างกันอย่างไร เดี๋ยววันนี้เรามาดูกัน
กริยา 3 ช่อง ทั้งหมด พร้อมคำอ่าน คำกริยาในภาษาอังกฤษ จะต้องเปลี่ยนรูปของคำเพื่อบอกว่าเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาใด จึงเป็นที่มาของคำว่า กริยา 3 ช่อง แยกเป็น ช่อง 1 ช่อง 2 และช่อง 3