ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา กันทะ, กมณฑลาภิเษก, กมัณฑลุ, ชลันทร, กมณฑโลทก, กะลันทา, กลันทก์, คัณฑมาลา
กลันทะ
อ่านว่ากะ-ลัน-ทะ
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2)
ภาษาบาลี-สันกฤต
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก
กลันทะ,กลันทก์
หมายถึง[กะลันทะ] (แบบ) น. กระแต, กระรอก. (ป. กลนฺท, กลนฺทก; ส. กลนฺทก, กลนฺตก).
กลันทก์
บทวลัญช์
อ่านว่าบด-ทะ-วะ-ลัน
ลัน
หมายถึงน. เครื่องดักปลาไหล ทำด้วยกระบอกไม้ไผ่เหลือข้อไว้ด้านหนึ่ง ที่ปากกระบอกมีงาแซง, กะลัน ก็เรียก.
หมายถึงเครื่องมือดักปลาไหล มีลักษณะคล้ายแจกัน มีไส้ในสำหรับใส่เหยื่อทำจากไม้ไผ่สานมีรูปร่างสวยงาม ใช้สำหรับดักปลาไหลโดยเฉพาะ กู้อีจู้, สุ่มดักปลาไหล, ตุ้มใส่ปลาไหล, ไซดักปลาไหล, อีจู้ ก็เรียก
ลัญฉน์
อ่านว่าลัน
ลัญจ์
ลัญฉะ
อ่านว่าลัน-ฉะ
ปิลันธน์
อ่านว่าปิ-ลัน
ทะ
หมายถึง(กลอน) ก. ปะทะ เช่น ของ้าวทบทะกัน. (ตะเลงพ่าย).
ก.พ.
ย่อมาจากโรงเรียนกลันทาพิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย์