ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา มนตกานต์, กมลกานต์, กรกานต์
กฤตกานต์
แปลว่าผู้เป็นที่รัก
ภาษาบาลี-สันกฤต
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2)
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก
กฤต
แปลว่าการที่ได้กระทำแล้ว
กานต์
หมายถึง(แบบ) ว. เป็นที่รัก, โดยมากใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น จันทรกานต์ เป็นที่รักของพระจันทร์ ได้แก่แก้วผลึกที่ถูกแสงจันทร์แล้วมีเหงื่อ, คู่กับ สูรยกานต์ เป็นที่รักของพระอาทิตย์ ได้แก่แก้วที่รวมแสงอาทิตย์ให้เกิดไฟได้. (ส.).
แปลว่าน่ารัก, น่าพึงใจ
ฤต
หมายถึง[รึด] น. กฎ, วินัย, (เช่นในพระศาสนา); ธรรมเนียม, ความจริง, ความชอบธรรม. (ส.).
อ่านว่ารึด
ณัฐกฤต
แปลว่าสร้างให้เป็นนักปราชญ์
กฤตกร
แปลว่าผู้สร้างความรุ่งเรือง
กฤตชยา
แปลว่าผู้ทำให้ได้ชัยชนะ
กฤตพันธุ์
แปลว่าผู้สร้างสรรค์วงศ์วาน
กฤตเมธ
แปลว่าผู้มีปัญญา
ปริญญากฤต
แปลว่าผู้มีความรอบรู้