กริยา 3 ช่อง Irregular Verb สรุป Irregular Verbs ที่ใช้บ่อยที่สุดในภาษาอังกฤษ และวิธีที่ง่ายที่สุดในการเรียนรู้ตาราง Irregular Verbs ที่ใช้งานบ่อย 100 คำกริยา
Pronoun (คำสรรพนาม) ในการสื่อสารไม่ว่าชาติไหนๆก็ต้องมีคำใช้เรียกแทนตัวเองและคู่สื่อสาร ในภาษาอังกฤษก็เช่นเดียวกันย่อมมีคำสรรพนามวันนี้เราจึงจะมาทำความรู้จักกับคำสรรพนามหรือ Pronoun นั่นเอง วันนี้เรามาดูกันเลยว่า pronoun นั้นมีคำอะไรบ้าง
หลักการเติม ed หลังคำกริยา สำหรับ Regular Verbs ในคำกริยาช่อง 2 และช่อง 3 จากวันก่อนที่ได้อธิบายเรื่อง กริยา 3 ช่อง และเห็นประเภทของคำกริยา 3 ช่องไปแล้ว นั่นคือมี Regular Verbs (กริยาผันปกติ - เติม ed) และ Irregular Verbs (กริยาผันไม่ปกติ) เดี๋ยววันนี้เราจะมาดูหลักการเติม ed ใน irregular verbs กัน และนี่สำคัญเพราะออกข้อสอบกันอยู่เรื่อยๆ จ้า
หลักการอ่านคำกริยา 3 ช่อง Regular Verbs (ที่เติม -ed) เราได้เรียนรู้และเห็นการกริยา 3 ช่องกันมาหลายคำแล้ว อย่างที่รู้ว่าเราแบ่งเป็นเปลี่ยนคำ (Irregular Verbs) หรือเติม -ed ต่อท้าย (Regular Verbs) แบบแรกก็ง่ายเพราะมีเสียงอ่านเฉพาะคำ แต่แบบที่ 2 แม้จะเติม -ed แต่ดันอ่านไม่เหมือนกันอีก เดี๋ยวเรามาดูกันว่าคำไหนต้องออกเสียงแบบไหนกัน ไปดูเลย
การใช้ Pronoun จากบทความก่อนๆเราได้นำเสนอไปแล้วว่า Pronoun นั้นคืออะไรและมีคำไหนบ้าง วันนี้เราจึงจะมานำเสนอเกี่ยวกับหลักการใช้ Pronoun ให้ได้รู้จักอย่างคร่าวๆกันก่อน ซึ่งหลักการใช้ง่าย ๆ มีดังนี้
"Update" เขียนเป็นภาษาไทยยังไง อัปเดต หรือ อัพเดท หลายครั้งหลายคราที่จะใช้คำ "Update" ในแบบภาษาไทย แต่ก็ไม่แน่ใจว่าจะเขียนยังไงดี เนื่องจากเข้าใจว่าต้องเขียนเป็น "อัปเดต" แต่พอเอาไปพิมพ์ลองใน Google ก็ดันแนะนำว่าต้องเป็น "อัพเดต" แทนเฉยเลย รวมถึงบทความต่าง ๆ ก็นิยมใช้ "อัพเดต" กันเสียด้วย
10 คำกริยา 3 ช่อง หมวด Regular Verb ที่ค้นหาบ่อยและนิยมนำไปออกข้อสอบ ต่อจากส่วนที่แล้ว – 10 คำกริยา 3 ช่อง หมวด Irregular Verb ที่ค้นหาบ่อยและนิยมนำไปออกข้อสอบ เรามาดูต่อส่วนที่เป็น Regular Verb กันเลย
เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 5 : Prefixes for amount Prefixes for amount หรือส่วนเติมข้างหน้าคำศัพท์แล้วให้ความหมายเกี่ยวกับปริมาณ ซึ่งเป็นอีก prefixes หนึ่งที่มีความสำคัญไม่ต่างจากประเภทอื่นๆ เลย
What goes around comes around แปลว่า? What goes around, comes around. เป็นสำนวนที่ใช้กันบ่อยพอสมควรนะครับ มันมีความหมายตรงกับสำนวนไทยที่กล่าวไว้ว่า "กงเกวียนกำเกวียน"
คำซ้ำ (Reduplication) พูดถึงเรื่องของคำซ้ำ หรือ reduplication ในภาษาต่าง ๆ ก็มีอยู่มากมาย รวมถึงในภาษาไทยเราด้วย ภาษาไทยเราเรียกได้ว่าเป็นหนึ่งในภาษาที่มีความหลากหลายมากที่สุดภาษาหนึ่ง การสร้างคำต่าง ๆ ขึ้นมาจึงมีหลายวิธีในการสรรสร้างเพื่อให้ได้คำหรือความหมายใหม่ขึ้นมารวมถึงวิธีการซ้ำคำด้วย วันนี้เราจึงหยิบเรื่องคำซ้ำมาให้เรียนรู้กัน มาดูกันเลย
Wordy Guru แอปเดียว รวมทุกศัพท์ หลังจากที่ท่านผู้ใช้งานหลายต่อหลายท่านแนะนำมาว่าควรทำแอปฯ เวอร์ชันที่รวมเอาทุกหมวดไว้ให้สามารถค้นหาได้ในที่เดียว จึงเป็นที่มาของการพัฒนาแอป Wordy Guru ขึ้นมาเพื่อไม่ต้องเสียเวลาดาวน์โหลดหมวดต่าง ๆ แยกกัน
เทคนิคจำศัพท์ - ตอนที่ 2 : Number Prefixes Number Prefixes ซึ่งก็คือส่วนที่เติมไปหน้าคำแล้วทำให้คำมีความหมายเกี่ยวกับตัวเลข คำศัพท์เหล่านี้ก็เป็นคำที่เราเจอบ่อยๆ และใช้กันอยู่ทุกๆ วัน