กริยาช่อง 2 (Verb 2) ที่ใช้บ่อยพร้อมความหมาย กริยาช่อง 2 หรือ Verb 2 คือ คำกริยาที่แสดงถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งส่วนใหญ่ Verb จำพวกนี้จะลงท้ายด้วย –ed ค่ะ โดยหลักการเติม –ed
รวมกริยา 3 ช่อง ที่มีช่องที่ 2 และที่ 3 เขียนเหมือนกัน กริยา 3 ช่อง คือ คำที่ใช้เพื่อบ่งบอกถึงเหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลา หรือใช้แสดงถึงเหตุการณ์ในช่วงเวลาที่เกิดขึ้น ได้แก่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ในอดีต ปัจจุบัน หรืออนาคต
ตำแหน่ง เจ้าคุณพระ ที่มาแต่อดีต ตั้งแต่โบราณ เปิดความรู้เรื่องยศ เจ้าคุณพระ หรือ พระสนมเอก ภายหลังการสถาปนา เจ้าคุณพระสินีนาฏ ในปีพ.ศ. 2562
ประกาศผลการร่วมกิจกรรมแจกสติกเกอร์ครั้งที่ 1 เพื่อเป็นการตอบแทนทุกท่านที่ให้กำลังใจในการทำเว็บไซต์ แอปพลิเคชัน และเพจ Wordy Guru มาเป็นอย่างดี ทางทีมงานจึงอยากจะขอตอบแทนเป็นของขวัญเล็ก ๆ น้อย ๆ กลับคืนบ้าง
20 คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่คนไทยมักออกเสียงผิด มีหลายคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่คนไทยเราออกเสียงผิดเนื่องจากภาษาอังกฤษเองก็ไม่ใช่ภาษาที่คนไทยใช้มาแต่เดิม และคำที่เห็นนั้นก็ไม่อาจแน่ใจได้ว่าควรอ่านหรือออกเสียงอย่างไร
"อนุญาต" "ขออนุญาต" กับ "อนุญาติ" "ขออนุญาติ" คำไหนนะที่ถูกต้อง มีเคล็ดลับในการจำไว้ง่าย ๆ ทำได้โดยท่องไว้เลยว่า อนุญาต หรือ ขออนุญาต นั้นไม่ใช่ "ญาติ" ไม่เกี่ยวกับ "ญาติ"
"สะเหล่อ" กับ "เสร่อ" คำไหนที่ถูกต้อง วันนี้เรามาลองทดสอบดูว่า ระหว่าง สะเหล่อ กับ เสร่อ คำไหนที่ถูกต้อง?
80 คำศัพท์ในภาษาไทยที่มักเขียนผิด มีคนไทยจำนวนไม่น้อยต้องประสบกับปัญหาเรื่องคำศัพท์ในภาษาไทย ที่สุดแสนจะสะกดและเขียนให้ถูกยากเหลือเกิน
คำราชาศัพท์คืออะไร มีที่มาจากไหน ใช้อย่างไร การศึกษาเรื่องคำราชาศัพท์ จำเป็นต้องรู้ความหมายของคำราชาศัพท์เสียก่อน จึงจะทำให้ผู้ศึกษาเข้าใจในเนื้อหาและจุดประสงค์ของคำราชาศัพท์ได้ถ่องแท้ แม้คนทั่วไปจะไม่ได้ใช้คำราชาศัพท์บ่อยนักแต่ก็เป็นเรื่องใกล้ตัวเราที่ต้องพบเจอคำราชาศัพท์อยู่ตลอด
10 ศัพท์อังกฤษที่ชอบออกเสียงผิดตอนเป็นเด็ก เรื่องปกติของเด็กที่ไม่ได้เกิดมาเป็น English native แบบคนไทยเรา ย่อมมีวัยเด็กที่รู้หลักการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษที่ยังน้อยนิด แต่ไปเจอศัพท์ที่ยากและออกเสียงแบบแหกกฎ พอนึกย้อนกลับไปนี่ก็ตลกตัวเองอยู่เหมือนกันว่าตอนนั้นทำไมอ่านแบบนั้นหล่ะ
กลอน MV เที่ยวไทยมีเฮ เป็นกระแสกันอยู่พอสมควรในช่วงเวลานี้เกี่ยวกับการจะแบน MV เที่ยวไทยมีเฮ ที่เอาทศกัณฐ์มาเป็นตัวเดินเรื่อง ซึ่งทาง Wordy Guru ขอมอบบทกลอนนี้ประกอบไว้ให้ลูกหลานภายภาคหน้าได้เห็นว่าปู่ย่าตายายเรามีความคิดอย่างไรกับเรื่องนี้
ชื่ออาหารที่ยืมมาจากคำภาษาจีน ภาษาไทยมีคำยืมมาจากภาษาต่างประเทศหลายภาษา เช่น ภาษาเขมร ภาษาจีน ภาษาชวา ภาษาบาลี ภาษาละติน ภาษาสันสกฤต ภาษาอังกฤษ