ตัวกรองผลการค้นหา
กรมธรรม์
หมายถึงเอกสารกู้หนี้ยืมสิ้น, สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่เป็นอสังหาริมทรัพย์, เอกสารในการประกันภัย เช่น กรมธรรม์ประกันชีวิต เป็นต้น
พจนานุกรม เป็นคำที่ถูกต้อง ✅
พจณานุกรม เป็นคำที่เขียนผิด ❌
อ่านว่ากรม-มะ-ทัน
กฎกรม
หมายถึงกรมหรือหน่วยงานย่อยที่แยกออกจากหน่วยงานใหญ่ แต่ละกรมมีอธิบดีกรมเป็นหัวหน้า ข้อบัญญัติที่เจ้ากรมออกไว้ โดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายเรียก กฎกรม ข้อบัญญัติที่เจ้ากระทรวง เจ้าทบวง เจ้ากรมบัญญัติจะต้องไม่ขัดกับกฎหมาย ถ้าขัดกับกฎหมาย ข้อบัญญัติก็เป็น โมฆะหรือ โมฆียะ.
กรม
หมายถึง1.)แผนกย่อยที่ แยกจากกระทรวงหรือทบวงเรียกว่ากรม เช่นกรมการปกครอง กรมศาสนา กรมที่ดิน กรมตำรวจ เป็นต้น. 2.)อิศริยยศที่ได้รับพระราชทานจากพระเจ้าแผ่นดินทรงแต่งตั้ง เช่น กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมพระ กรมพระยา กรมสมเด็จเจ้าพระยา.
กรมหลวง
อ่านว่ากรม-มะ-หลวง
อนุกรม
หมายถึง[อะนุกฺรม] น. ลำดับ, ระเบียบ, ชั้น, เช่น โดยอนุกรม, นิยมใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น พจนานุกรม ปทานุกรม นามานุกรม สารานุกรม อักขรานุกรม. (ส. อนุกฺรม; ป. อนุกฺกม).
อภิเนษกรมณ์
หมายถึง[อะพิเนดสะกฺรม] น. การออกบวชเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่. (ส. อภิ + นิษฺกฺรมณ; ป. อภินิกฺขมน).
ไฮโกรมิเตอร์
หมายถึง[-โกฺร-] น. เครื่องมือสำหรับวัดความชื้นในอากาศ. (อ. hygrometer).
บรรณานุกรม
หมายถึง[บันนานุกฺรม] น. บัญชีรายชื่อหนังสือที่ใช้ประกอบการค้นคว้า, บัญชีรายชื่อหนังสือในหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ยุคใดยุคหนึ่ง หรือของผู้เขียนคนใดคนหนึ่ง มักจะมีรายละเอียดหรือบทวิจารณ์สั้น ๆ ประกอบ.
ไผทโกรม
หมายถึง[-โกฺรม] น. แผ่นดินตํ่า หมายความว่า ใต้หล้า คือ พื้นโลกเรานี้.
มหาภิเนษกรมณ์
หมายถึง[มะหาพิเนดสะกฺรม] น. การเสด็จออกบรรพชาของพระพุทธเจ้า. (ส. มหาภินิษฺกฺรมณ; ป. มหาภินิกฺขมน).