สํานวนสุภาษิต

กินที่ลับขับที่แจ้ง

หมายถึง การได้ประโยชน์กันในที่ลับไม่มีใครรู้ แต่ต่อมามีการขัดข้องกันจึงนำเรื่องที่เคยทำนั้นมาเปิดเผยให้หลายๆคนรับรู้ มักใช้ในเชิงชู้สาว

หมายเหตุ ความหมายเดียวกับ กินที่ลับไขที่แจ้ง

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • กินที่ลับขับที่แจ้ง ความหมายคืออะไร ใช้ยังไง, สํานวนสุภาษิต กินที่ลับขับที่แจ้ง หมายถึง การได้ประโยชน์กันในที่ลับไม่มีใครรู้ แต่ต่อมามีการขัดข้องกันจึงนำเรื่องที่เคยทำนั้นมาเปิดเผยให้หลายๆคนรับรู้ มักใช้ในเชิงชู้สาว หมายเหตุ ความหมายเดียวกับ กินที่ลับไขที่แจ้ง คำนาม คน

 สํานวนสุภาษิตที่คล้ายกัน

กบในกะลาครอบ กระเชอก้นรั่ว กว่าถั่วจะสุกงาก็ไหม้ กาในฝูงหงส์ กินที่ลับไขที่แจ้ง กินบนเรือน ขี้รดบนหลังคา กินบนเรือนแล้วขี้รดหลังคา ฆ้องปากแตก ช้างสาร งูเห่า ข้าเก่า เมียรัก อย่าได้ไว้วางใจ สาวไส้ให้กากิน อย่าเอาจมูกคนอื่นหายใจ ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น
 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ