สํานวนไทย

ชาติเสือไม่ทิ้งลาย

หมายถึง เป็นผู้ชายต้องมีความเก่งกล้าสามารถ มีความองอาจแข็งแรง ไม่อ่อนแอเหมือนผู้หญิง

 หมายเหตุ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • สำนวนไทย: ชาติเสือไม่ทิ้งลาย หมายถึง?, สํานวนไทย ชาติเสือไม่ทิ้งลาย หมายถึง เป็นผู้ชายต้องมีความเก่งกล้าสามารถ มีความองอาจแข็งแรง ไม่อ่อนแอเหมือนผู้หญิง สัตว์ เสือ
  • สำนวนไทย: ชาติเสือไม่ทิ้งลาย หมายถึง?, สํานวนไทย ชาติเสือไม่ทิ้งลาย หมายถึง เป็นผู้ชายต้องมีความเก่งกล้าสามารถ มีความองอาจแข็งแรง ไม่อ่อนแอเหมือนผู้หญิง คำนาม ชาย, หญิง สัตว์ เสือ

 สํานวนไทยที่คล้ายกัน

กระดูกสันหลังของชาติ กระต่ายแหย่เสือ กินล้างกินผลาญ ชาติเสือจับเนื้อกินเอง ชิงสุกก่อนห่าม รู้เช่นเห็นชาติ เชื้อไม่ทิ้งแถว เสือซ่อนเล็บ เสือนอนกิน เสือลากหาง เสือลำบาก ใจดีสู้เสือ

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น