สํานวนไทย

จมไม่ลง

หมายถึง บุคคลที่เคยมีฐานะร่ำรวยหรือมีชื่อเสียงมาก่อน แต่ปัจจุบันยากจนหรือไม่มีชื่อเสียงอีกแล้ว แต่ยังประพฤติตนเหมือนกับตอนที่ยังมีฐานะหรือชื่อเสียงดีเหมือนแต่ก่อน

หมายถึง เคยทำตัวใหญ่มาแล้วทำให้เล็กลงไม่ได้ คล้ายกับ จนไม่ลง

พจนานุกรมไทย จมไม่ลง หมายถึง:

  1. (สํา) ก. เคยทําตัวใหญ่มาแล้วทําให้เล็กลงไม่ได้ (มักใช้แก่คนที่เคยมั่งมีหรือรุ่งเรืองมาก่อน เมื่อยากจนหรือตกอับลงก็ยังทําตัวเหมือนเดิม).

 หมายเหตุ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • สำนวนไทย: จมไม่ลง หมายถึง?, สํานวนไทย จมไม่ลง หมายถึง บุคคลที่เคยมีฐานะร่ำรวยหรือมีชื่อเสียงมาก่อน แต่ปัจจุบันยากจนหรือไม่มีชื่อเสียงอีกแล้ว แต่ยังประพฤติตนเหมือนกับตอนที่ยังมีฐานะหรือชื่อเสียงดีเหมือนแต่ก่อน
  • สำนวนไทย: จมไม่ลง หมายถึง?, สํานวนไทย จมไม่ลง หมายถึง เคยทำตัวใหญ่มาแล้วทำให้เล็กลงไม่ได้ คล้ายกับ จนไม่ลง อวัยวะ ตัว

 สํานวนไทยที่คล้ายกัน

จมูกมด จรกาหน้าหนู จองหองพองขน จับดำถลำแดง จับตัววางตาย จับปลาสองมือ จับปูใส่กระด้ง จับพลัดจับผลู จับแพะชนแกะ จับไม่ได้ไล่ไม่ทัน จุดไต้ตำตอ

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น