ตัวกรองผลการค้นหา
แกมกัน
หมายถึงปน,ปนกัน,ด้วยกัน
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2)
ภาษาบาลี-สันกฤต
ที่มาของสำนวน สุภาษิต คำพังเพย หมวด ก
ก
หมายถึงพยัญชนะตัวต้นของพยัญชนะทั้งหมด เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก
ก้อกก้อก
หมายถึงเสียงดังอย่างนั้น เช่นเสียงที่เกิดจากการกรนของเด็กดัง ก้อกก้อก ถ้าผู้ใหญ่กรนดังโก้กโก้ก.
งากงาก
หมายถึงเสียงดังอย่างนั้น เช่นเสียงร้องไห้ ดังงากงาก.
โก้กโวก
หมายถึงผอม, ซูบผอม มักจะใช้เป็นคำขยาย ซึ่งจะหมายถึงผอมมาก ๆ
กกหูก
หมายถึงด้ายหรือไหมที่ตัดไว้ติดกับฟืม เรียก กกหูก กกหูกสำหรับต่อกับเครือหูกในเวลาจะทอครั้งต่อไป
กกุสนธ์
หมายถึงพระนามพระพุทธเจ้าองค์แรกที่เกิดในภัทรกัปนี้ เรียก พระกกุสันธะ กุกกุสันธะก็เรียก ในภัทรกัปนี้มีพระพุทธเจ้ามาเกิด ๕ พระองค์ คือ พระกกุสันโธ พระโกนาคมโน พระกัสสโป พระโคตโม พระอริยเมตตรัยโย (ป. กกุสนธ).
ฮาก
หมายถึง1.)ราก อาเจียน อาหารที่กลืนลงไปแล้วอาเจียนออกมาทางปาก เรียก ฮาก เช่น ฮากเข้า ฮากน้ำ ฮากขี้เพี้ย ฮากขี้โพ่น. 2.)ส่วนของต้นไม้ที่หยั่งลงไปในพื้นดิน เพื่อดูดเอาอาหารมาเลี้ยงลำต้น เรียก ฮากไม้ คนที่เป็นดุจรากไม้ดูดเอาอาหารมาเลี้ยงประเทศชาติให้เจริญ เรียก ฮากคน.
หมายถึงด้ายหรือไหมที่ตัดไว้ ติดกับฟืม กกหูกสำหรับต่อกับเครือหูก ในเวลาจะทอครั้งต่อไป
หมายถึงอาเจียน
ดั่นๆ ดิ้น
หมายถึงร้อนใจมาก
ขี้งา
หมายถึงชื่อผ้าไหมชนิดหนึ่ง ใช้ไหมขาวกับไหมดำปนกัน เช่น เครือหูกเป็นไหมดำไหมที่ทอเป็นไหมขาว เมื่อสำเร็จแล้วจะเป็นสีขี้งาคือสีขาวกับสีดำปนกัน.