ภาษาอีสานดูที่ esan108.com ›

กก

หมายถึงแรก, ทีแรก, เริ่มแรก, ลูกผู้เกิดทีแรก เรียก ต้นข้าวปักดำทีแรกเรียก เข้ากกแฮก.

หมายถึงต้นไม้ ต้นไม้เรียก กกไม้ เช่น กกมี้ กกม่วง กกยม กกยอ กกเดื่อ อย่างว่า กกบ่เตื้องตีงตายตั้งแต่ง่า ง่าบ่เหลื้องมาเตื้องตั้งแต่ใบ (บ.)

หมายถึงต้นตระกูล ผู้เป็นต้นตระกูล เรียก กก, กอ หรือเหง้า ก็เรียก อย่างว่า กกกอเหง้าวงศ์สกุลโคตรย่า ให้บูชาอ่อนน้อมถนอมไว้อย่าลวน (บ.)

หมายถึงกอด อุ้ม กอดหรืออุ้มไว้กับอกเรียก กก เช่นแม่กอดลูก บ่าวกอดสาว ไก่กกลูก อย่างว่า ยามเมื่อนอนในห้องศาลากวนแอ่ว พี่ก็กกกอดอุ้มเอาน้องเข้าบ่อนนอน (กา).

หมายถึงชื่ออักษรที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกด เรียกว่า แม่กก หรือมาตรากก.

หมายถึงต้นกก ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่งคล้ายต้นผือ ใช้ทอเสื่อ เสื่อที่ทอด้วยกกสวยกว่า เพราะต้นกกลำเล็ก อย่างว่า สาดต่ำผือบ่งามบ่จบ สาดต่ำกกทังจบทังงาม (บ.)

หมายถึงโคน เช่น โคนแขนเรียก กกแขน โคนขาเรียก กกขา อย่างว่า สาวเอยสาว ตั้งแต่เจ้าเป็นสาว กกขาขาวคือปลีกล้วยถอก บาดเจ้าออกลูกแล้ว กกขาก่ำคือหำลิงโทน (กลอน)

หมายถึงแรก, ทีแรก, เริ่มแรก, ลูกผู้เกิดทีแรก เรียก ต้นข้าวปักดำทีแรกเรียก เข้ากกแฮก.

หมายถึงนกเงือกเรียก นกกก นกคอก้าก ก็ว่า อย่างว่า นกกกแลนกแกง ซุมแซงแลคอก่าน ห่านฟ้าแลตะลุม (เวส) ฟันยินเปล้าป่าวฮ้องเฮียงลูก สอนเสียงพุ้นเยอ สองค่อยพากันเก็บเงื่อนลิงเล็งป้อน ฟันยิงแกงกกเค้าคณามุมฮ้องฮ่ำ เจ้าหล้าช้อยฟังย้านสั่นสาย (สังข์).

พจนานุกรมไทย กก หมายถึง:

  1. น. ชื่อไม้ล้มลุกในวงศ์ Cyperaceae เกิดในที่ชุ่มแฉะ ชนิดลําต้นกลมใช้ทอหรือสานเสื่อ เรียกว่า กกกลม หรือ กกเสื่อ (Cyperus corymbosus Rottb., C. tegetiformis Roxb.) ที่ลําต้นเป็นสามเหลี่ยม เช่น กกลังกา (C. alternifolius L.) กกสามเหลี่ยม [Schoenoplectus grossus (L.f.) Palla] กกขนาก หรือ กกกระหนาก (C. difformis L.).

  2. น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกดว่า แม่กก หรือ มาตรากก.

  3. น. ซอกด้านในหรือซอกด้านหลังของบานประตูหรือหน้าต่าง, ถ้าเป็นด้านหลังของแผ่นบานประตู เรียกว่า กกประตู, ถ้าเป็นด้านหลังของแผ่นบานหน้าต่าง เรียกว่า กกหน้าต่าง.

  4. ก. แนบไว้กับอก โดยปรกติเป็นอิริยาบถนอน เช่น กกกอด กกไข่ กกลูก, โดยปริยายหมายความว่า เก็บนิ่งไว้นานเกินควร เช่น เอาเรื่องไปกกไว้.

  5. น. โคน เช่น กกไม้, ต้น เช่น กกขา, ลําต้น เช่น กกเสา.

  6. (ถิ่น-พายัพ) ก. ตัด, บั่น, เช่น กกกิ่ง กกยอด.

  7. ดู กะวะ

 ภาพประกอบ

  • กก หมายถึงอะไร, ภาษาอีสาน กก หมายถึง แรก, ทีแรก, เริ่มแรก, ลูกผู้เกิดทีแรก เรียก ต้นข้าวปักดำทีแรกเรียก เข้ากกแฮก. หมวด กก
  • กก หมายถึงอะไร, ภาษาอีสาน กก หมายถึง ต้นไม้ ต้นไม้เรียก <b>กกไม้</b> เช่น กกมี้ กกม่วง กกยม กกยอ กกเดื่อ อย่างว่า กกบ่เตื้องตีงตายตั้งแต่ง่า ง่าบ่เหลื้องมาเตื้องตั้งแต่ใบ (บ.) หมวด กก
  • กก หมายถึงอะไร, ภาษาอีสาน กก หมายถึง ต้นตระกูล ผู้เป็นต้นตระกูล เรียก <b>กก, กอ</b> หรือ<b>เหง้า</b> ก็เรียก อย่างว่า กกกอเหง้าวงศ์สกุลโคตรย่า ให้บูชาอ่อนน้อมถนอมไว้อย่าลวน (บ.) หมวด กก
  • กก หมายถึงอะไร, ภาษาอีสาน กก หมายถึง กอด อุ้ม กอดหรืออุ้มไว้กับอกเรียก <b>กก</b> เช่นแม่กอดลูก บ่าวกอดสาว ไก่กกลูก อย่างว่า ยามเมื่อนอนในห้องศาลากวนแอ่ว พี่ก็กกกอดอุ้มเอาน้องเข้าบ่อนนอน (กา). หมวด กก
  • กก หมายถึงอะไร, ภาษาอีสาน กก หมายถึง ชื่ออักษรที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกด เรียกว่า แม่กก หรือมาตรากก. หมวด กก
  • กก หมายถึงอะไร, ภาษาอีสาน กก หมายถึง ต้นกก ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่งคล้ายต้นผือ ใช้ทอเสื่อ เสื่อที่ทอด้วยกกสวยกว่า เพราะต้นกกลำเล็ก อย่างว่า สาดต่ำผือบ่งามบ่จบ สาดต่ำกกทังจบทังงาม (บ.) หมวด กก
  • กก หมายถึงอะไร, ภาษาอีสาน กก หมายถึง โคน เช่น โคนแขนเรียก <b>กกแขน</b> โคนขาเรียก <b>กกขา</b> อย่างว่า สาวเอยสาว ตั้งแต่เจ้าเป็นสาว กกขาขาวคือปลีกล้วยถอก บาดเจ้าออกลูกแล้ว กกขาก่ำคือหำลิงโทน (กลอน) หมวด กก
  • กก หมายถึงอะไร, ภาษาอีสาน กก หมายถึง แรก, ทีแรก, เริ่มแรก, ลูกผู้เกิดทีแรก เรียก <b.ลูกกก</b> ต้นข้าวปักดำทีแรกเรียก <b>เข้ากกแฮก</b>. หมวด กก
  • กก หมายถึงอะไร, ภาษาอีสาน กก หมายถึง นกเงือกเรียก <b>นกกก นกคอก้าก</b> ก็ว่า อย่างว่า นกกกแลนกแกง ซุมแซงแลคอก่าน ห่านฟ้าแลตะลุม (เวส) ฟันยินเปล้าป่าวฮ้องเฮียงลูก สอนเสียงพุ้นเยอ สองค่อยพากันเก็บเงื่อนลิงเล็งป้อน ฟันยิงแกงกกเค้าคณามุมฮ้องฮ่ำ เจ้าหล้าช้อยฟังย้านสั่นสาย (สังข์). หมวด กก

 ภาษาอีสานที่คล้ายกัน

กกขา กกบักขาม กกหูก กฎอัยการศึก กระแต กลางเว็น กองเฟือง กะหย่า กะโป๋ ก้ง ก้นกอกยา ก้นแงน

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น