ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา ดุรค,ดุรคะ, อุรณะ, ตุรคะ, อุค,อุคระ, อุรเคนทร์, นาโครคินทระ
อุรคะ
หมายถึงน. “ผู้ที่ไปด้วยอก” คือ งู, นาค. (ป. อุรค ว่า ไปด้วยอก).
การใช้คะ ค่ะ นะคะ นะค่ะ
การใช้ ร หัน(รร)
คำไวพจน์: กวาง - คำไวพจน์ของ กวาง พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้
อักษรย่อโรงเรียน
อุร,อุร-,อุระ,อุรา,อุรา
หมายถึงน. อก. (ป.; ส. อุรสฺ).
ตุรคะ
หมายถึง[ตุระคะ] (แบบ) น. ม้า. (ป., ส.).
ขรรคะ,ขรรคา
หมายถึง[ขักคะ, ขันคา] (แบบ) น. แรด เช่น หนึ่งนบสิขานนนารถ เถลิงขรรคาอาศน์ แลยาตรอัมพรแผ่นพาย. (ดุษฎีสังเวย). (ป. ขคฺค; ส. ขฑฺค).
อุ
หมายถึงน. นํ้าเมาชนิดหนึ่ง ใช้ปลายข้าวและแกลบประสมกับแป้งเชื้อแล้วหมักไว้.
ดุรค,ดุรคะ
หมายถึง[ดุรก, ดุระคะ] (แบบ) น. ม้า. (ป., ส. ตุรค ว่า สัตว์ไปเร็ว).
คะ
หมายถึงคำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ค เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ครื้นครื้น กร่อนเป็น คะครื้น โครมโครม กร่อนเป็น คะโครม มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำเน้นคำ.
หมายถึงว. คำลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ต่อจากคำถามหรือคำแสดงความสงสัยเพื่อแสดงความสุภาพ เช่น อะไรคะ กระมังคะ, คำลงท้ายที่ผู้หญิงใช้ต่อจากคำ ซิ นะ เพื่อแสดงความสุภาพ เช่น เชิญซิคะ ไปนะคะ.
อุท,อุท-
หมายถึง[อุทะ-] น. นํ้า. (ป., ส.).
ทุกร,ทุกร-
หมายถึง[ทุกกะระ-] (แบบ) น. สิ่งที่ทำได้ยาก. (ป. ทุกฺกร).
อุปะ
หมายถึง[อุปะ, อุบปะ] คำประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต แปลว่า เข้าไป, ใกล้, รอง, เช่น อุปราช อุปนายก. (ป., ส.).
อุตดร,อุตร,อุตร-
หมายถึง[อุดดอน, อุดตะระ-] น. อุดร. (ป., ส. อุตฺตร).