ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา วัชรยาน, วัชรชิต, วัชรินทร์, วัชรี, วัชระ, วีรชน, วัชร-, วัชร
วัชร-
หมายถึง[วัดชะระ-] น. ดู วชิระ. (ส. วชฺร; ป. วชิร).
การใช้ ร หัน(รร)
คำราชาศัพท์ที่พบในพิธีราชาภิเษก
พิธีราชาภิเษก
อักษรย่อโรงเรียน
วัชร
วัชรชิต
หมายถึงครุฑ, ผู้พิชิตสายฟ้า
วัช
หมายถึง(แบบ) น. วชะ, คอกสัตว์. (ป. วช).
วัช,วัช,วัช-,วัชชะ,วัชชะ
หมายถึง[วัดชะ-] น. สิ่งที่ควรละทิ้ง; โทษ, ความผิด. (ป. วชฺช; ส. วรฺชฺย, วรฺชฺช).
วัช,วัช,วัชชะ,วัชชะ
หมายถึงน. การพูด, ถ้อยคำ. ว. ควรพูดติ, ควรกล่าวติ. (ป. วชฺช; ส. วทฺย).
ชน,ชน,ชน-
หมายถึง[ชนนะ-] น. คน (มักใช้ในภาษาหนังสือ).(ป., ส.).
ชน
หมายถึงก. โดนแรง ๆ เช่น รถยนต์ชนต้นไม้, ชิดจนติด เช่น ตั้งตู้ชนฝา; บรรจบ เช่น ชนขวบ; ให้ต่อสู้กัน เช่น ชนโค ชนไก่. น. เรียกไก่อูชนิดหนึ่งที่เลี้ยงไว้ชนกันว่า ไก่ชน.
ทุกร,ทุกร-
หมายถึง[ทุกกะระ-] (แบบ) น. สิ่งที่ทำได้ยาก. (ป. ทุกฺกร).
ร
หมายถึงพยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรตํ่า ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร ตัวหลังเป็นตัวสะกด เช่น กรรไตร (กันไตฺร) ยรรยง (ยันยง) และเมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีคำอื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียง ออ และตัว ร ออกเสียง อะ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี).
อิสร
หมายถึง[อิดสะหฺระ-] ว. เป็นใหญ่, เป็นไทแก่ตัว, เช่น อิสรชน, ที่ปกครองตนเอง เช่น รัฐอิสระ, ไม่ขึ้นแก่ใคร, ไม่สังกัดใคร, เช่น อาชีพอิสระ นักเขียนอิสระ. น. ความเป็นไทแก่ตัว เช่น ไม่มีอิสระ แยกตัวเป็นอิสระ. (ป. อิสฺสร; ส. อีศฺวร).
อิสร-