ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา ภิงสระ,ภิงสะ, ทิศ,ทิศา, พิษ,พิษ-, มิค,มิค-,มิคะ, มิทธี, นิรามิษ, เมี้ยน, อภินิหาร, ผลคุนีบูรพมาส, มโน, มางสะ
มิส,มิส-,มิสก,มิสก-
หมายถึง[มิดสะ-, มิดสะกะ-] ว. เจือ, ปน, คละ. (ป. มิสฺส, มิสฺสก; ส. มิศฺร, มิศฺรก).
คำไวพจน์: กวาง - คำไวพจน์ของ กวาง พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้
คำไวพจน์: ปลา - คำไวพจน์ของ ปลา พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้
50 มุกเสี่ยวยอดนิยม โพสต์เรียกยอดไลก์
อักษรย่อชื่อเดือนทั้ง 12 เดือน
มิ
หมายถึงก. เฉย, ไม่ค่อยพูดจา, เช่น รามสูรได้ยินสิ้นสติลงนั่งมิจะทำกระไรได้. (บทระบำตลก พระราชนิพนธ์ ร.๕).
หมายถึงว. ไม่ เช่น มิทราบ มิควร มิบังอาจ.
มิศร,มิศร-,มิศรก,มิศรก-
หมายถึง[มิดสะระ-, มิดสะระกะ-] ว. เจือ, ปน, คละ; ประสมขึ้น. (ส.; ป. มิสฺส, มิสฺสก).
ภูมิบาล,ภูมิภุช
หมายถึง[พูมิ-] น. พระเจ้าแผ่นดิน. (ส.).
มิต,มิต-
หมายถึง[-ตะ-] ว. พอประมาณ, น้อย. (ป.).
ภูมิบริมาณ
หมายถึง[พูมิ-] น. มาตราเนื้อที่. (ส.).
พรหมินทร์
หมายถึง[พฺรมมิน] น. พรหมผู้เป็นใหญ่. (ส.).
บเอ
หมายถึง(โบ) ว. มิใช่เอก, มิใช่หนึ่ง, มาก.
มิญช,มิญช-
หมายถึง[มินชะ-] น. เยื่อ, แก่นหรือเมล็ด. (ป.).
ฤๅเยา
หมายถึงว. มิใช่เยา, มิใช่น้อย, ไม่เยา.
มิหนำซ้ำ
หมายถึงว. เท่านี้ยังไม่เพียงพอ, หนักยิ่งไปกว่านั้นอีก, เช่น ตัดเท้าตัดกรแล้วมิหนำ ซ้ำฆ่าสุริย์วงศ์ยักษี. (รามเกียรติ์).