ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา จิตระ,จิตรา, จิตภาพ, จิตร,จิตร-,จิตร-, จินตภาพ, ภาพลักษณ์, วิภาส, นักษัตร-, นักษัตร
ภาส,ภาส-
หมายถึง[พาด, พาดสะ-, พาสะ-] น. แสง, สว่าง, แจ้ง. (ป., ส.).
พุทธศาสนสุภาษิต หมวด จิต
จิต,จิต-
หมายถึง[จิด, จิดตะ-] น. ใจ, สิ่งที่มีหน้าที่รู้ คิดและนึก, (โบ เขียนว่า จิตร), ลักษณนามว่า ดวง. (ป. จิตฺต).
สะกดจิต
หมายถึงก. ใช้อำนาจจิตเป็นสื่อสะกดให้หลับแล้วบังคับให้กระทำตามความต้องการของตน.
ต่างจิตต่างใจ
หมายถึงว. ต่างคนก็ต่างความคิด.
ประภาส
หมายถึง[ปฺระพาด] น. แสงสว่าง. (ส. ปฺรภาส; ป. ปภาส).
จิตต,จิตต-,จิตต์
หมายถึง[จิดตะ-] (แบบ) น. จิต. (ป.).
จิตตภาวนา
หมายถึง(แบบ) น. การอบรมจิต.
หัวจิตหัวใจ
หมายถึงน. หัวใจ, จิตใจ, (มักใช้ในทางตำหนิ) เช่น หัวจิตหัวใจเขาทำด้วยอะไรจึงเหี้ยมเกรียมนัก, อารมณ์ เช่น เขากำลังเศร้าโศกไม่มีหัวจิตหัวใจจะทำอะไร.
เถยจิต
หมายถึงน. จิตประกอบด้วยความเป็นขโมย, จิตคิดขโมย. (ป. เถยฺยจิตฺต).
นานาจิตตัง
หมายถึงว. ต่างจิตต่างใจ, ต่างคนก็ต่างความคิดเช่นคนหนึ่งถูกกับอากาศเย็น แต่อีกคนหนึ่งถูกกับอากาศร้อน.
ภวังคจิต
หมายถึงน. จิตเป็นภวังค์. (ป.).
จริม,จริม-
หมายถึง[จะริมะ-] ว. สุดท้าย เช่น จริมจิต ว่า จิตดวงสุดท้าย. (ป.).