ตัวกรองผลการค้นหา
หัน
หมายถึง(ถิ่น-พายัพ) ก. เห็น.
การใช้ ร หัน(รร)
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2)
ภาษาบาลี-สันกฤต
หันหลัง
หมายถึง(สำ) ก. เลิก เช่น หันหลังให้อบายมุข.
หันหลังให้กัน
หมายถึง(สำ) ก. โกรธกัน, เลิกคบค้ากัน.
ก หัน
หมายถึงน. อักษร ก คู่ ในหนังสือโบราณใช้แทนไม้หันอากาศตัวหนึ่ง เป็นตัวสะกดตัวหนึ่ง เช่น จกก = จัก หลกก = หลัก.
หันหลังชนกัน
หมายถึง(สำ) ก. ร่วมมือร่วมใจกัน.
หมายถึงก. ผันร่างไปทางใดทางหนึ่ง เช่น หันซ้าย คือ ผันร่างไปทางซ้าย หันขวา คือ ผันร่างไปทางขวา, ผินไปทางใดทางหนึ่ง เช่น นิยมสร้างโบสถ์หันหน้าไปทางทิศตะวันออก, หมุน เช่น หันหน้ามาทางนี้; เปลี่ยนใจ เช่น หันไปเข้ากับศัตรู.
หันข้าง
หมายถึงก. ผินด้านข้างให้เพราะงอนหรือไม่พอใจเป็นต้น.
เหียนหัน
หมายถึงก. เปลี่ยนท่าทาง, พลิกแพลง, หันเหียน ก็ว่า.
หันกลับ
หมายถึงก. เปลี่ยนไปสู่สภาพเดิม เช่น เขาทั้งสองหันกลับไปคืนดีกัน.
หันหน้า
หมายถึง(สำ) ก. พึ่งพาอาศัย เช่น ไม่รู้จะหันหน้าไปหาใคร.
หิน
หมายถึงก. หัน, ผัน หรือ ผิน ก็ว่า.
หันเหียน
หมายถึงก. เปลี่ยนท่าทาง, พลิกแพลง, เช่น รำร่ายหันเหียนเวียนละวัน หมายมั่นเข่นฆ่าราวี. (อิเหนา), เหียนหัน ก็ว่า.