คำในภาษาไทย

ไวพจน์

คำนาม

หมายถึงคำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น มนุษย์กับคน บ้านกับเรือน รอกับคอย ป่ากับดง คำพ้องความ ก็ว่า (ภาษาบาลี คือ เววจน)

หมายถึง(โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทย ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใสกับไส โจทก์กับโจทย์ พานกับพาล ที่ในปัจจุบันเรียกว่า คำพ้องเสียง

 บทความที่เกี่ยวกับไวพจน์

คำไวพจน์ พร้อมความหมายน่ารู้

 หมายเหตุ

  • * ดังนั้น คำไวพจน์ ปัจจุบันจึงหมายถึง คำพ้องความ หรือคำที่มีความหมายเหมือนกันเท่านั้น

 ภาพประกอบ

  • ไวพจน์ หมายถึงอะไร?, คำในภาษาไทย ไวพจน์ หมายถึง คำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น มนุษย์กับคน บ้านกับเรือน รอกับคอย ป่ากับดง คำพ้องความ ก็ว่า (ภาษาบาลี คือ เววจน) ประเภท คำนาม หมวด คำนาม
  • ไวพจน์ หมายถึงอะไร?, คำในภาษาไทย ไวพจน์ หมายถึง (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทย ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใสกับไส โจทก์กับโจทย์ พานกับพาล ที่ในปัจจุบันเรียกว่า คำพ้องเสียง ประเภท คำนาม หมวด คำนาม

 คำในภาษาไทยที่คล้ายกัน

กฤดีกา,กฤตยฎีกา กัญ คำพ้องความ คำพ้องเสียง คำไวพจน์ ไลลา ไล่ ไล่ช้าง ไวทย์ ไว้ตัว ไว้ฝีมือ ไว้เนื้อเชื่อใจ

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น