ปรัชญาสามก๊ก

สัตบุรุษอยู่รวมกับใคร ๆ ได้อย่างสนิทสนม แต่ไม่ลำเอียงเข้าข้างฝ่ายใด

 ภาพประกอบ

  • สัตบุรุษอยู่รวมกับใคร ๆ ได้อย่างสนิทสนม แต่ไม่ลำเอียงเข้าข้างฝ่ายใด หมายถึงอะไร?, ปรัชญาสามก๊ก สัตบุรุษอยู่รวมกับใคร ๆ ได้อย่างสนิทสนม แต่ไม่ลำเอียงเข้าข้างฝ่ายใด

 ปรัชญาสามก๊กที่คล้ายกัน

คนจนอยู่ในเมืองไม่มีใครรู้จัก คนมั่งมีอยู่ในป่าก็มีคนรู้จัก คนที่ถูกเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ กระทบกระทั่ง แต่อดกลั้นไว้ไม่ได้ ย่อมไม่อาจทำการใหญ่ได้ คนเราถ้าไม่ก่อกรรมทำเข็ญ ย่อมไม่กลัวใครจ้องทำลาย ถ้าเพื่อแก้แค้นส่วนตัว จะไม่สนใจกฎหมาย ต่อให้เป็นการกระทำเพื่อความกตัญญู ก็ไม่มีใครยกย่องว่าเก่ง บุคลิกอีกลักษณะของสัตบุรุษเปลี่ยนไปใน 3 ลักษณะคือ 1. มองจากที่ไกล ดูหนักแน่นมั่นคง น่าเกรงขาม 2. อยู่ต่อหน้า กิริยาสุภาพนุ่มนวล น่ารักน่าเคารพ 3. เมื่อเปล่งวาจา คำพูดจริงจังดังเหลือเกิน สัตบุรุษระมัดระวังคำพูด ประกอบกิจว่องไว สร้างแต่ความดี คือ สร้างแต่ความสุข สัตบุรุษ ที่หมั่นดูแลบิดามารดาของตน ด้วยรักและเคารพยาวนานสม่ำเสมอนับว่าเป็นบุตรผู้มีความกตัญญูกตเวทีและเป็นที่ยกย่องให้ก้องเกียรติในหมู่ชน สัตบุรุษท่านหนักแน่น มั่นคง มุ่งมั่นเรื่องของตนจึงไม่แข่งดีกับใคร สัตบุรุษระมัดระวังคำพูด ประกอบกิจว่องไว สัตบุรุษสมบูรณ์ด้วยความรู้และคุณธรรม จึงทำอะไรได้หลายอย่าง ต่างจากของใช้ ซึ่งของอย่างหนึ่งก็จะใช้ประโยชน์ได้อย่างเดียว สัตบุรุษสั่งสมคุณธรรมให้พอกพูนเพิ่มทวี พาลชนพอกพูนความชั่วช้าหนาแน่น เมื่อใครทำชั่ว ย่อมแพ้ภัยตัวเอง

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น
 ปรัชญาสามก๊ก จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ