ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา พิสมัย, พิจยะ,พิจัย, พิชย,พิชย-,พิชัย, พินัย, พิสัย
พิสมัย เป็นคำที่ถูกต้อง ✅
พิศมัย เป็นคำที่เขียนผิด ❌
มัย
หมายถึงน. ม้า, ลา, อูฐ. (ป., ส. มย).
หมายถึงว. สำเร็จด้วย, แล้วด้วย, ประกอบด้วย, (ใช้ประกอบท้ายสมาส เช่น มโนมัย ว่า สำเร็จด้วยใจ, กุศลมัย ว่า แล้วด้วยกุศล, ตฤณมัย ว่า ประกอบด้วยหญ้า). (ป., ส. มย).
พิศ
หมายถึง[พิด] ว. ยี่สิบ. น. เรียกเหรียญทองครั้งรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๒๐ ของชั่ง = ๔ บาท ว่า ทองพิศ. (ส. วึศ; ป. วีส).
หมายถึง[พิด] ก. เพ่งดู, แลดูโดยถี่ถ้วน.
พิศดู
หมายถึง[พิดสะดู] ก. พิจารณาดูให้รอบคอบ, พิจารณาดูให้ถี่ถ้วน.
เพ่งพิศ
หมายถึงก. ดูด้วยความพินิจพิเคราะห์.
พิสดาร เป็นคำที่ถูกต้อง ✅
พิศดาร เป็นคำที่เขียนผิด ❌
ไมยราพณ์, มัยราพณ์ เป็นคำที่ถูกต้อง ✅
ไมยราพ เป็นคำที่เขียนผิด ❌
ทิฏฐุชุกรรม
หมายถึง(แบบ) น. การทำความเห็นให้ตรง คือ เห็นถูกทาง เช่น เห็นว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว (เป็นข้อหนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัย ปัตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย ทิฏฐุชุกรรม). (ป. ทิฏฺฐุชุกมฺม).
คมขำ
หมายถึงก. สวยอย่างซึ้งใจชวนพิศ มักหมายถึงหญิงผิว ๒ สี.
สระสม
หมายถึง[สฺระ-] (วรรณ) ว. สวย เช่น พิศดูคางสระสม. (ลอ).