ตัวกรองผลการค้นหา
นิจศีล เป็นคำที่ถูกต้อง ✅
นิจสิน เป็นคำที่เขียนผิด ❌
นิจ,นิจ,นิจ-
หมายถึง[นิด, นิดจะ-] ว. เสมอไป, สมํ่าเสมอ, มักใช้ว่า เป็นนิจ. (ป. นิจฺจ; ส. นิตฺย).
ดุลยพินิจ
หมายถึงน. การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลพินิจ ก็ใช้.
ถึงแก่อนิจกรรม
หมายถึงก. ตาย (ใช้แก่พระยาพานทองหรือเทียบเท่า).
เนืองนิตย์ เป็นคำที่ถูกต้อง ✅
เนืองนิจ เป็นคำที่เขียนผิด ❌
วินิจ
หมายถึงก. ตรวจตรา, พิจารณา.
อนิจกรรม
หมายถึงน. ความตาย, ใช้กับผู้ตายที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตั้งแต่ชั้นประถมาภรณ์มงกุฎไทยขึ้นไป หรือทุติยจุลจอมเกล้า หรือทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ว่า ถึงแก่อนิจกรรม.
นิจศีล
หมายถึง[นิดจะสีน] น. ศีลที่ควรรักษาเป็นนิจ ได้แก่ ศีล ๕. ว. เป็นปรกติเสมอไป, มักใช้ว่า เป็นนิจศีล. (ป. นิจฺจสีล).
ปลงอนิจจัง
หมายถึงก. รู้สึกสังเวชใจว่าไม่น่าจะเป็นถึงเช่นนั้น.
ดุลพินิจ
หมายถึง[ดุนละ-] น. การวินิจฉัยที่เห็นสมควร, ดุลยพินิจ ก็ใช้.
วินิจฉัย
หมายถึงก. ตัดสิน, ชี้ขาด, เช่น เรื่องนี้วินิจฉัยได้ ๒ ทาง; ไตร่ตรอง, ใคร่ครวญ, เช่น คณะกรรมการขอเลื่อนเวลาออกไปอีกเพื่อวินิจฉัยปัญหาให้รอบคอบยิ่งขึ้น. (ป.).
พินิจ
หมายถึงก. พิจารณา, ตรวจตรา, เช่น เพ่งพินิจ.