คำสมาส
ทาสกรรมกร
แยกคําสมาสเป็น ทาส + กรรมกร (คำขยาย + คำตั้ง)
แยกคําสมาสเป็น กรรมกร + ทาส (คำขยาย + คำตั้ง)
หมายเหตุอ่านว่า ทาด-สะ-กำ-มะ-กอน แต่ถ้าเป็นคำซ้อนจะอ่านว่า ทาด-กำ-มะ-กอน
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับทาสกรรมกร
หมายเหตุ
- * เรียงคำหลัก (คำตั้ง) ไว้ข้างหน้า คำขยายไว้ข้างหลัง แปลความหมายจากหน้าไปหลัง ซึ่งจะเหมือนคำซ้อนหรือคำประสมอย่างมาก แต่ก็พอจะมีจุดสังเกต คือ พยางค์ท้ายคำหลักจะต้องไม่ประวิสรรชนีย์หรือไม่เป็นตัวการันต์และต้องออกเสียงพยางค์ท้ายของคำหลักด้วย
คำสมาสแบบสมาส หรือ คำสมาสแบบธรรมดา คือ การนำคำบาลีหรือคำสันสกฤต มาชนกัน เช่น วิทยา+ศาสตร์, จินต+ภาพ
คำสมาสแบบสนธิ หรือที่นิยมเรียกกันว่า คำสนธิ คือ การนำคำบาลีหรือคำสันสกฤต มาเชื่อมกัน คำที่ได้จะมีเสียงกลมกลืนกัน เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เช่น ธน+อาคาร = ธนาคาร, เมษ+อายน = เมษายน ดูต่อได้ที่ คำสนธิ