ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา เวรกรรม, กรรมเวร, เวชกรรม, เวร, สวกรรม
เสวยกรรม
หมายถึง(วรรณ) ก. ตาย เช่น หนหลังเกรงแหล่งหล้า พระบาทคิดหนหน้า อยู่เกล้าเสวยกรรมฯ. (ลอ).
พุทธศาสนสุภาษิต หมวด กรรม
คำราชาศัพท์ - คําราชาศัพท์ หมวดอาหาร
เสวย
หมายถึง[สะเหฺวย] ก. ได้รับ, ได้ประสบ, เช่น เสวยทุกขเวทนา, ได้รับประโยชน์ เช่น เสวยสิทธิ์. (ข. โสฺวย).
หมายถึงรับประทาน, กิน
กรรม,กรรม,กรรม-,กรรม-
หมายถึง[กำ, กำมะ-] (ไว) น. ผู้ถูกกระทำ เช่น คนกินข้าว ข้าว เป็นกรรมของกริยา กิน.
หมายถึง[สะเหฺวย] (ราชา) ก. กิน, เสพ, เช่น เสวยพระกระยาหาร เสวยพระสุธารส; ครอง เช่น เสวยราชย์. (ข. โสฺวย).
หมายถึง[กำ, กำมะ-] น. (๑) การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. (๒) การกระทำที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบัน หรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปในอนาคต เช่น บัดนี้กรรมตามทันแล้ว ระวังกรรมจะตามทันนะ. (๓) บาป, เคราะห์, เช่น คนมีกรรม กรรมของฉันแท้ ๆ. (๔) ความตาย ในคำว่า ถึงแก่กรรม.
เข้ากรรม
หมายถึง(ถิ่น-อีสาน) ก. อยู่ไฟ.
เครื่องเสวย
หมายถึงของกิน
ข้าวเสวย
หมายถึงข้าว หรือเรียกว่า พระกระยา
โต๊ะเสวย
หมายถึงโต๊ะรับประทานอาหาร
พานหมากเสวย
หมายถึงพานหมาก
แก้วน้ำเสวย
หมายถึงแก้วน้ำดื่ม