ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา สระ, บิตุจฉา, ปิตุจฉา, ปิตุลานี, กัณฐชะ, ถั่ว, หัวใจ, พฤทธิ์, ทุ่น
อา
หมายถึง(กลอน) ว. คำออกเสียงท้ายคำพูดในความรำพึงหรือวิตกเป็นต้น เช่น แม่อา พี่อา.
สวัสดีปีใหม่ของอาเซียน
คำทักทายภาษาอาเซียน
คำศัพท์ไทย-เขมร
หมวด อาหาร
หมายถึงน. น้องของพ่อ, (โบ) เขียนเป็น อาว์ ก็มี. (อีสาน อา ว่า น้องสาวของพ่อ, อาว ว่า น้องชายของพ่อ).
อา,อา,อ๋า
หมายถึงน. วิธีแทงโปวิธีหนึ่ง โดยแทง อา เหม็ง ซั้ว กางปีก ๓ ประตู โปออกประตูใดใน ๓ ประตูนั้น เจ้ามือใช้ ๑ ต่อ ถ้าออกประตูอื่น เจ้ามือกินหมดทั้ง ๓ ประตู.
อาหระ
หมายถึง[-หะระ] น. การนำมา; การถือเอา. (ป., ส.).
อาหตะ
หมายถึงว. ถูกตี, โดนตี. (ป., ส.).
สระ
หมายถึง[สะหฺระ] น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสำคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกับเสียงพยัญชนะ หรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, เสียงสระ ก็เรียก; ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงสระ เช่น ะ า, รูปสระ ก็เรียก. (ป. สร; ส. สฺวร).
บิตุจฉา
หมายถึง[-ตุดฉา] (แบบ) น. อา (ผู้หญิง), ป้า (ญาติฝ่ายพ่อ). (ป. ปิตุจฺฉา).
อาปาน,อาปาน-,อาปานะ
หมายถึง[-นะ-] น. การดื่ม, การเลี้ยง. (ป., ส.).
อากัป
หมายถึง[อากับ] น. การแต่งตัวดี. (ป. อากปฺป; ส. อากลฺป).
ปิตุจฉา
หมายถึง[-ตุด-] น. อา (ผู้หญิง), ป้า (ญาติฝ่ายพ่อ). (ป.).
ปิตุลานี
หมายถึงน. อา (ผู้หญิง), ป้า (ญาติฝ่ายพ่อ). (ป.).
กัณฐชะ
หมายถึง(ไว) น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดจากเพดานอ่อน ได้แก่ พยัญชนะวรรค ก คือ ก ข ค ฆ ง และอักษรที่มีเสียงเกิดจากเส้นเสียงในลำคอ ได้แก่ ห และ สระ อะ อา. (ป.; ส. กณฺวฺย).