ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา เสต,เสต-, เบญจวรรค, สิต,สิต-, มิต,มิต-, สีต,สีต-, ปาฏลิ
ตะ
หมายถึงก. ทา, ฉาบ, แตะ, กะไหล่ เช่น ตะทอง ว่า กะไหล่ทอง, ตะทองลาย ว่า กะไหล่ทองเป็นดวง ๆ, หรือ ตะถม เป็นต้น.
ภาษาบาลี-สันกฤต
ผิตะ, ผีตะ
หมายถึงว. มั่งคั่ง, ผึ่งผาย, กว้างขวาง. (ป.).
สตะ
หมายถึงว. ระลึกได้, จำได้. (ป.; ส. สฺมฺฤต).
สุตะ
หมายถึงก. ไหลไป. (ป.; ส. สฺรุต).
อสิตะ
หมายถึง[อะสิตะ] ว. มีสีดำ, มีสีคลํ้า, มีสีแก่. (ป., ส.).
มุตะ
หมายถึง[มุ-ตะ] ก. รู้แล้ว. (ป.).
สิตะ
หมายถึงว. ยิ้ม, ยิ้มแย้ม. (ป.; ส. สฺมิต).
อายตะ
หมายถึง[-ยะตะ] ว. ยืด, แผ่ออกไป, กว้างขวาง, ยาว. (ป., ส.).
ผีตะ
สุต,สุต-,สุต-
หมายถึง[สุตะ-, สุดตะ-] ก. ได้ยิน, ได้ฟังแล้ว.
เสต,เสต-
หมายถึง[-ตะ-] (แบบ) ว. เศวต, สีขาว. (ป.; ส. เศฺวต).
เบญจวรรค
หมายถึงน. วรรคทั้ง ๕ ได้แก่ พยัญชนะตั้งแต่ ก ถึง ม คือ กะ วรรค จะ วรรค ฏะ วรรค ตะ วรรค ปะ วรรค, พวก ๕.