สํานวนสุภาษิต

กลัวให้ถูกท่า กล้าให้ถูกที่ ดีให้ถูกทาง

หมายถึง ทำอะไรก็ต้องให้ถูกกาลเทศะ

 หมายเหตุ

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • กลัวให้ถูกท่า กล้าให้ถูกที่ ดีให้ถูกทาง ความหมายคืออะไร ใช้ยังไง, สํานวนสุภาษิต กลัวให้ถูกท่า กล้าให้ถูกที่ ดีให้ถูกทาง หมายถึง ทำอะไรก็ต้องให้ถูกกาลเทศะ คำกริยา เท

 สํานวนสุภาษิตที่คล้ายกัน

กล้านักมักบิ่น กว่าถั่วจะสุกงาก็ไหม้ กินบนเรือนแล้วขี้รดหลังคา ขนมผสมน้ำยา คอหอยกับลูกกระเดือก ฆ่าควายก็ต้องไม่เสียดายพริก ดีดลูกคิดรางแก้ว ทำนาออมกล้า ทำปลาออมเกลือ ผักชีโรยหน้า ลืมตาอ้าปาก เขียนเสือให้วัวกลัว เงยหน้าอ้าปาก

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น
 สุภาษิตไทย จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ