สํานวนไทย

กินข้าวต้มกระโจมกลาง

หมายถึง ทำอะไรด้วยความใจร้อนไม่พิจารณาให้รอบคอบ มักเป็นผลเสียแก่ตน

 หมายเหตุ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • สำนวนไทย: กินข้าวต้มกระโจมกลาง หมายถึง?, สํานวนไทย กินข้าวต้มกระโจมกลาง หมายถึง ทำอะไรด้วยความใจร้อนไม่พิจารณาให้รอบคอบ มักเป็นผลเสียแก่ตน อาหาร ข้าว อวัยวะ ใจ, คอ

 สํานวนไทยที่คล้ายกัน

กบในกะลาครอบ กินของเก่า กินขันหมาก กินบ้านกินเมือง กินรังแตน กินลมกินแล้ง กินล้างกินผลาญ กินเกลือกินกะปิ กินเหล็กกินไหล กินแกงร้อน ซื่อกินไม่หมด คดกินไม่นาน ท้องยุ้งพุงกระสอบ

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ
 แสดงความคิดเห็น