ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา มหินท์, กระสรวล, กรินทร์, แง่, จรลาด,จรหลาด, บดินทร์, เสี้ยน, มุนินทร์, มรฑป, กระวน
มหิ
หมายถึง(แบบ) น. แผ่นดิน. (ป., ส.).
คำไวพจน์: ควาย - คำไวพจน์ของ ควาย พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้
คำไวพจน์: วัว - คำไวพจน์ของ วัว พร้อมตัวอย่างการนำไปใช้
มหิดล
หมายถึงน. พื้นดิน, พื้นโลก. (ส. มหิตล, มหีตล).
มหิษ
หมายถึงน. ควาย. (ส.; ป. มหิส, มหีส, มหึส).
มเหยงค์
หมายถึง[มะเห-ยง] น. ภูเขา, เนินดิน. (ป. มหิยงฺคณ).
รัตนโกสินทร์
หมายถึงน. นามส่วนหนึ่งของกรุงเทพมหานครฯ ที่มีชื่อเต็มว่า กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบูรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์, อีกนัยหนึ่งหมายความถึงกรุงเทพฯ มักอ้างในประวัติศาสตร์ เช่น สมัยรัตนโกสินทร์.
กฎ
หมายถึง[กด] (โบ) ก. จดไว้เป็นหลักฐาน เช่น ให้นายยกกระบัตรกฎปากหลากคำไว้. (กฎหมายอายัดทาส), ตรา เช่น ตรัสแก่ขุนศรีภูริปรีชาให้กฎเป็นตำราไว้. (อัยการเบ็ดเสร็จ), “พระมหาธรรมราชาก็ตรัสให้กฎลงมาให้เอาพระยารามเป็นพระยาพิชัย”. (พงศ. ๑๑๓๖). (เทียบ ข. กต่ ว่า จด). น. คำบังคับ เช่น จึ่งสมเด็จพระมหินทราธิราชเจ้าแผ่นดินก็ตรัสให้ทำตามกฎให้ลงมานั้นทุกประการ. (พงศ. ๑๑๓๖); (กฎ) ข้อกำหนดหรือข้อบัญญัติที่บังคับให้ต้องมีการปฏิบัติตาม เช่น กฎกระทรวง กฎหมาย; (วิทยา) ข้อกำหนดในเรื่องธรรมชาติตามที่ค้นคว้าได้. (อ. law).