ตัวกรองผลการค้นหา
ฉินท,ฉินท-,ฉินท์
หมายถึง[ฉินทะ-] (แบบ) ก. ตัด, ขาด, ทำลาย. (ป., ส.).
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ
สำนวนไทย หมวด ก-ฮ (ต่อ 2)
ภาษาบาลี-สันกฤต
"Update" เขียนเป็นภาษาไทยยังไง อัปเดต หรือ อัพเดท
อุท,อุท-
หมายถึง[อุทะ-] น. นํ้า. (ป., ส.).
สก,สก-,สก-
หมายถึง[สะกะ-] ว. ของตน. (ป.; ส. สฺวก).
ทศม,ทศม-
หมายถึง[ทะสะมะ-, ทดสะมะ-] (แบบ) ว. ที่ ๑๐ เช่น ทศมสุรทิน = วันที่ ๑๐. (ส.).
ทมะ
หมายถึง[ทะ-] (แบบ) น. การข่มใจ, การทรมาน, การฝึกตน; อาชญา, การปรับไหม. (ป., ส.).
ทร,ทร-
หมายถึง[ทอระ-] คำอุปสรรค แปลว่า ชั่ว, ยาก, ลำบาก, น้อย, ไม่มี, เช่น ทรชน ทรลักษณ์ ทรพล. (ป. ทุ, ทุรฺ; ส. ทุสฺ).
สก
หมายถึงน. ผม. (ข. สก่).
หมายถึง(โบ) ก. สะเด็ดนํ้า เช่น เอาข้าวที่ซาวนํ้าแล้วใส่ในตะแกรงเพื่อให้นํ้าแห้ง เรียกว่า สก.
จุทสะ
หมายถึง[จุดทะสะ] (แบบ) ว. สิบสี่. (ป. จุทฺทส; ส. จตุรทศ).
ตีบทแตก
หมายถึงก. แสดงได้แนบเนียนสมบทบาท.
ท
หมายถึง[ทะ] ใช้เป็นคำนำหน้านาม แปลว่า คน, ผู้, เช่น ทนาย ทแกล้ว.
หมายถึงใช้ประสมกับตัว ร อ่านเป็นเสียง ซ ในคำบางคำ เช่น ทราบ แทรก ทรง และในคำบางคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ทรัพย์ อินทรีย์ มัทรี, ที่อ่านเป็นเสียงเดิมคือ ทร (ไม่ใช่ ซ) ก็มี เช่น ภัทรบิฐ.