คำไวพจน์ หมวด น

คำไวพจน์ หมวด น ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

"คำไวพจน์" คืออะไร มีความหมายว่าอย่างไร

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้องความ" เช่น ดอกไม้ และ บุษบา, สวย และ งาม, เศร้า และ เสียใจ เป็นต้น

คำไวพจน์ แบ่งได้กี่ประเภท?

คำไวพจน์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. คำพ้องรูป 2. คำพ้องเสียง และ 3. คำพ้องความ

*เรามักจะเห็นในแบบคำพ้องความเสียเป็นส่วนใหญ่

รวมคำไวพจน์ หมวด น

คำไวพจน์ หมวด น ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

  1. คำไวพจน์ นก = ทวิช / วิหค / ปักษิณ / บุหรง / สกุณา / ทวิชาชาติ / สกุณ / ปักษี / ปักษา / สกุณี / ทิชากร / ทิชาชาติ / สุโนก
  2. คำไวพจน์ นกยูง = โมรี / โมเรส / โมร / เมารี
  3. คำไวพจน์ นรก = นิรย / ทุคติ / นารก
  4. คำไวพจน์ นอน = นิทรา / สีหไสยาสน์ / สีหไสยา / ไสยาสน์ / ผทม / ศยนะ / ศยะ / บรรทม / จำวัด / ไสยา / สยนะ / สลบไสล / เอนกาย / นิทร / โนน / ตากตน / แรมรอน / นอนเอือก / ทอดตัว / นอนซม / นอนแบ็บ / เอนหลัง / เอนตัว
  5. คำไวพจน์ นักปราชญ์ = ธีร์ / เธียร / เมธี / ธีระ / บัณฑิต / เมธา / ปราชญ์ / เมธ
  6. คำไวพจน์ นางฟ้า = อัจฉรา / อัปสร / รัมภา / เทพธิดา / เทวี / เทวนารี / นางสวรรค์ / เทพธิดา / นางอัปสร
  7. คำไวพจน์ นางอันเป็นที่รัก = แก้วกับอก / สมร / ทรามสงวน / แก้วกับตน / ขวัญอ่อน / ทรามสวาท / เยาวมาลย์ / ขวัญตา
  8. คำไวพจน์ นางอุมา = กาตยายนี / ภวาณี / จัณฑี / เคารี / รุทธานี / นางกาลี / ไหมวดี
  9. คำไวพจน์ น่าฟัง = ไพเราะ
  10. คำไวพจน์ น้ำ = สมุทร / ทึก / สลิล / ชโลทร / อัมพุ / ธารา / อุทก / อุทก / ธาร / ชลาลัย / อุทกธารา / ชลธี / คงคา / สาคเรศ / ชลาศัย / สาคร / รัตนากร / ชลธาร / สินธุ์ / สินธุ / หรรณพ / นที / อรรณพ / อาโป
  11. คำไวพจน์ น้ำหวาน = น้ำผึ้ง / น้ำหวานในดอกไม้ / น้ำดอกไม้ / น้ำเกสรดอกไม้ / พรนลัท / นลัท

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน หรือเรียกอีกอย่างว่า “คำพ้องความ” เช่น บุษบา กับ บุปผา ช้าง กับ คช ป่า กับ ดง ม้า กับ อาชา เป็นต้น


 แสดงความคิดเห็น