คำไวพจน์ หมวด ท

คำไวพจน์ หมวด ท ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

"คำไวพจน์" คืออะไร มีความหมายว่าอย่างไร

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้องความ" เช่น ดอกไม้ และ บุษบา, สวย และ งาม, เศร้า และ เสียใจ เป็นต้น

คำไวพจน์ แบ่งได้กี่ประเภท?

คำไวพจน์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. คำพ้องรูป 2. คำพ้องเสียง และ 3. คำพ้องความ

*เรามักจะเห็นในแบบคำพ้องความเสียเป็นส่วนใหญ่

รวมคำไวพจน์ หมวด ท

คำไวพจน์ หมวด ท ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

  1. คำไวพจน์ ทรัพยากรแร่ธาตุ = ฟอสเฟส / ก๊าซธรรมชาติ / น้ำมันดิบ / ถ่านหิน / ดินขาว / แคลเซียม / โปแตสเซียม / กำมะถัน / เกลือ / ทราย / หิน / เหล็ก / ฟลูออไรท์ / วุลแฟรม / เงิน / ทองคำ / แมกนีเซียม / อลูมิเนียม / ตะกั่ว / ทองแดง / แมงกานีส / ดีบุก
  2. คำไวพจน์ ทวาร = ทวาร- / ไตรทวาร / หัวไส้ / ดาก / วัจมรรค / ตูด / เวจมรรค / ส้วง / อุจจารมรรค / หูรูด
  3. คำไวพจน์ ทศกัณฐ์ = กุมภกรรณ / ไมยราพ / อินทรชิต / ท้าวลัสเตียน / ไพนาสุริยวงศ์ / สหัสเดชะ / ขร / ทูษณ์ / ตรีเศียร / มังกรกัณฐ์ / ท้าวจักรวรรดิ / มารีศ / นางมณโฑ / นางสำมนักขา / นางเบญกาย / นางสุพรรณมัจฉา
  4. คำไวพจน์ ทหาร = ทเมิน / พลรบ / ปัตติก / ลูกน้ำเค็ม / พลานึก / แสนยากร / นาวิน / พลขับ / พลร่ม / โยธา / มหาดเล็ก / พลากร / อัสสานิก / อัสสานีก / อัสสานึก / ดุรงคี / ถเมิน / หัตถานึก / ทหารเลว / ทหารเกณฑ์ / รี้พล / กองพล / กองทัพ / อนีกัฐ / ลูกทัพฟ้า / เสนา / อธิวาส / ทหารกองเกิน / ลูกประดู่ / โยธิน / นักรบ / กองหนุน / บาทภัฏ / ทกล้า / ทแกล้ว / นาวิกโยธิน
  5. คำไวพจน์ ทอง = สุวรรณ
  6. คำไวพจน์ ทองคำ = จามีกร / อุไร / หิรัณย์ / โสณ / สิงคี / ไร / ริน / จารุ / มหาธาตุ / ชาตรูป / สุพรรณ / กาญจน / กัมพู / มาศ / กนก / ชมพูนุท / กาญจนา / สุวรรณ / เหม / กาณจน์
  7. คำไวพจน์ ทะเล = สินธู / สินธุ / สินธุ์ / ลำน้ำ / แม่น้ำ / สายน้ำ / น้ำ / มหาสมุทร
  8. คำไวพจน์ ทาง = อังศุ / มัค / มัค- / มัคคะ / วลัญช์ / สาย / หนทาง / ครรลอง / นิยาม / นิยามครรลอง / ชะช่อง / วิถี / แพ่ง / ทำนอง / ผลู / มุข / มุข- / ลู่ / เส้นทาง / เซราะ / เบื้อง / ถนน / มรคา / ทิศา / กบิล / จรอก / ด้าน / ปริยาย / ราชิ / ราชี / หน / อยน / อยน- / ทิศ / เชราะ / อัทธ / อัทธ- / อัทธ์ / อัทธา / อัทธาน / โอกาส / มรรค / มรรค- / มรรคา
  9. คำไวพจน์ ที่ = ณ / ประเทศ / มณฑล / แว่นแคว้น / ถิ่น / ตำบล / แดน / เขต / พิสัย / แห่ง / ปลาก / แห่ง / บ่อเกิด / ศูนย์รวม / บริเวณ / ที่อยู่ / ถิ่น
  10. คำไวพจน์ ทุกข์ = ทุกข / ทุกข- / เดือดร้อน / โศก / เศร้า / ตรม / เสียใจ / ระกำ
  11. คำไวพจน์ ท้องฟ้า = อัมพร / ทิฆัมพร / นภา / หาว / คคนางค์ / นภาลัย / เวหา / คคนานต์ / เวหาศ / โพยม / นภดล / อากาศ / นภ
  12. คำไวพจน์ เทวดา = สุรารักษ์ / เทวารัณย์ / เทวาคาร / เทเวศวร์ / เทเวศร์ / เทเวศ / เทเวนทร์ / นางฟ้า / สุร / นิรชรา / เทพ / ปรวาณ / เทวัญ / อมร / ไตรทศ / เทว / เทวินทร์ / เทวา / แมน
  13. คำไวพจน์ เทวดาผู้หญิง = เทวี
  14. คำไวพจน์ เทวดาหญิง = เทวี / นางฟ้า / นางสวรรค์ / กินรี
  15. คำไวพจน์ เท้า = บาทา / ตีน / บาท / บท / ส้น / บทศรี / ยุคลบาท / ซ่น / บทบงกช / บัวบาท

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน หรือเรียกอีกอย่างว่า “คำพ้องความ” เช่น บุษบา กับ บุปผา ช้าง กับ คช ป่า กับ ดง ม้า กับ อาชา เป็นต้น


 แสดงความคิดเห็น