คำไวพจน์ หมวด ฉ

คำไวพจน์ หมวด ฉ ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

"คำไวพจน์" คืออะไร มีความหมายว่าอย่างไร

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน ตรงกัน หรือคล้ายกันมาก แต่เขียนและออกเสียงต่างกัน เรียกอีกอย่างว่า "คำพ้องความ" เช่น ดอกไม้ และ บุษบา, สวย และ งาม, เศร้า และ เสียใจ เป็นต้น

คำไวพจน์ แบ่งได้กี่ประเภท?

คำไวพจน์ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. คำพ้องรูป 2. คำพ้องเสียง และ 3. คำพ้องความ

*เรามักจะเห็นในแบบคำพ้องความเสียเป็นส่วนใหญ่

รวมคำไวพจน์ หมวด ฉ

คำไวพจน์ หมวด ฉ ตามที่เคยรู้จัก คำไวพจน์ มีอยู่หลายคำ จะมีคำไหนที่เรารู้จักไหมนะ

  1. คำไวพจน์ ฉลาด = ธีร, แสนรู้, พิทูร, วิทูร, รอบรู้, ชำนาญ, ประพิณ, หัวแหลม, กุศล, โพธ, คมคาย, ธีร-, ธีระ, ปัญญา, วิจักขณ์, วิจักษณ์, พยัต, โกวิท, พฤทธ์, ประทักษ์, เฉลียว, เฉียบแหลม, ซุ่มคม, จินดาหรา, ภูริ, ภูรี, เฉโก, โกศล, ฉลาดเฉลียว, พุทธิ, วิสารทะ, เมธา, เธียร, คมกริบ, ประวีณ, ปวีณ, กรด

คำไวพจน์ คือ คำที่มีความหมายเหมือนกัน แต่เขียนต่างกัน หรือเรียกอีกอย่างว่า “คำพ้องความ” เช่น บุษบา กับ บุปผา ช้าง กับ คช ป่า กับ ดง ม้า กับ อาชา เป็นต้น


 แสดงความคิดเห็น