ตัวกรองผลการค้นหา
หรือคุณกำลังค้นหา กมล, กมล-, กมลา
กมลา
หมายถึง[กะมะ-] น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะสลับกัน คือ ส คณะ ย คณะ ส คณะ ย คณะ (ตามแบบว่า กมลาติ เณยฺยา สยเสหิ โย เจ) ตัวอย่างว่า จะวิสัชนาสาร พิสดารก็หลายเลบง เรียกว่า กมลฉันท์ หรือ กมลาฉันท์. (ป. ว่า นางงาม; ส. ว่า พระลักษมี).
กมล
หมายถึงน. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะสลับกัน คือ ส คณะ ย คณะ ส คณะ ย คณะ (ตามแบบว่า กมลาติ เณยฺยา สยเสหิ โย เจ) ตัวอย่างว่า จะวิสัชนาสาร พิสดารก็หลายเลบง เรียกว่า กมลฉันท์ หรือ กมลาฉันท์. (ป. ว่า นางงาม; ส. ว่า พระลักษมี).
ฉันท์ เป็นคำที่ถูกต้อง ✅
ฉัน เป็นคำที่เขียนผิด ❌
กมล-
หมายถึง[กะมะละ-] น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะสลับกัน คือ ส คณะ ย คณะ ส คณะ ย คณะ (ตามแบบว่า กมลาติ เณยฺยา สยเสหิ โย เจ) ตัวอย่างว่า จะวิสัชนาสาร พิสดารก็หลายเลบง เรียกว่า กมลฉันท์ หรือ กมลาฉันท์. (ป. ว่า นางงาม; ส. ว่า พระลักษมี).
ฉัน เป็นคำที่ถูกต้อง ✅
ฉันท์ เป็นคำที่เขียนผิด ❌
อัษฎกฉันท์
หมายถึงน. ฉันท์ปัฐยาวัต.
ฉันท-,ฉันท-,ฉันท์,ฉันท์
หมายถึง[ฉันทะ-] น. ชื่อคำประพันธ์ประเภทหนึ่งที่วางคำ ครุ ลหุ เป็นแบบต่าง ๆ. (ป.).
ฉันท-,ฉันท-,ฉันท์,ฉันท์,ฉันทะ
หมายถึงน. ความพอใจ, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี; ความร่วมความคิดความเห็นกัน เช่น ลงมติเป็นเอกฉันท์, ความไว้เนื้อเชื่อใจ เช่น มอบฉันทะ. (ป.).
เอกฉันท์ เป็นคำที่ถูกต้อง ✅
เอกฉัน, เอกะฉันท์ เป็นคำที่เขียนผิด ❌
จิตรปทา
หมายถึงน. ชื่อฉันท์ในวรรณพฤติ. (ป., ส.).
ยติ
หมายถึงน. การหยุดเป็นจังหวะตามกำหนดในการอ่านฉันท์. (ป., ส.).
ดุษฎีสังเวย
หมายถึงน. บทร้อยกรองที่แต่งเป็นฉันท์สำหรับกล่อมช้าง.