ค้นเจอ 62 รายการ

คลอง

หมายถึง[คฺลอง] น. ทางนํ้าหรือลำนํ้าที่เกิดขึ้นเองหรือขุดเชื่อมกับแม่นํ้าหรือทะเล; ทาง, แนว, เช่น คลองธรรม.

ชรทึง

หมายถึง[ชฺระ-] น. แม่นํ้า, ใช้ว่า จทึง ฉทึง ชทึง สทิง สทึง หรือ สรทึง ก็มี. (ข. สฺทึง ว่า คลอง).

สทึง

หมายถึง[สะ-] น. แม่นํ้า, ใช้ว่า จทึง ฉทึง ชทึง ชรทึง สทิง หรือ สรทึง ก็มี. (ข. สฺทึง ว่า คลอง).

สรทึง

หมายถึง[สฺระ-] (กลอน) น. แม่นํ้า, ใช้ว่า จทึง ฉทึง ชทึง ชรทึง สทิง หรือ สทึง ก็มี. (ข. สฺทึง ว่า คลอง).

ที่ดิน

หมายถึงน. ผืนแผ่นดินหรือพื้นดิน; (กฎ) พื้นที่ดินทั่วไป และหมายความรวมถึง ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง ลำนํ้า ทะเลสาบ เกาะ และที่ชายทะเลด้วย.

ชทึง

หมายถึง[ชะ-] (กลอน) น. แม่นํ้า เช่น ชลชทึงบึงบาง. (ประกาศพระราชพิธี), ใช้ว่า จทึง ฉทึง ชรทึง สทิง สทึง หรือ สรทึง ก็มี. (ข. สฺทิง ว่า คลอง).

ศิรา

หมายถึงน. นํ้า, ลำธาร, คลอง, ท่อ. (เขียน สิลา ก็มี).

เรือป๊าบ

หมายถึงน. เรือต่อชนิดหนึ่ง ท้องแบน ไม่เสริมกราบ หัวและท้ายเรือป้าน ลักษณะคล้ายเรืออีแปะสำหรับใช้สอยทั่วไปตามริมหนอง คลอง บึง.

จทึง

หมายถึง[จะทึง] น. แม่นํ้า, ใช้ว่า ฉทึง ชทึง ชรทึง สทิง สทึง หรือ สรทึง ก็มี. (ข. สฺทึง ว่า คลอง).

วาหินี

หมายถึงน. ทัพ, กองทัพ; หมวด; แม่นํ้า, คลอง. (ส.).

สทิง

หมายถึง[สะ-] น. แม่น้ำ, ใช้ว่า จทึง ฉทึง ชทึง ชรทึง สทึง หรือ สรทึง ก็มี. (ข. สฺทึง ว่า คลอง).

ครรลอง

หมายถึง[คันลอง] น. ทาง, แนวทาง, แบบฉบับ. (แผลงมาจาก คลอง).

 คำราชาศัพท์ จัดกลุ่มตามตัวอักษร ก-ฮ